การออกแบบเครื่องจักรกล 2

Mechanical Design 2

1. เข้าใจพื้นฐานการออกแบบเฟืองแบบต่างๆ
2. ออกแบบเฟืองแบบต่างๆได้อย่างเหมาะสม
3. เข้าใจความหมายระบบรองลื่น และการหล่อลื่น
4. ออกแบบระบบรองลื่น และการหล่อลื่น
5. เข้าใจความส่วนประกอบของลูกปืนแบริ่ง
6. เลือกใช้ลูกปืนแบริ่งได้อย่างเหมาะสม
7. เข้าใจพื้นฐานระบบเบรคและระบบส่งกำลังผ่าน คลัทซ์ สายพาน และโซ่
8. ออกแบบระบบเบรก ระบบการส่งถ่ายกำลังผ่านคลัทช์ สายพาน และโซ่ ได้อย่างเหมาะสม
9. มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความละเอียด สุขุมรอบคอบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ เพื่อการออกแบบทางวิศวกรรมเครื่องกล ด้านชิ้นส่วนเครื่องจักรกล
ศึกษาถึงการออกแบบเครื่องจักรกลเกี่ยวกับ เฟืองตรง เฟืองเฉียง เฟืองดอกจอก ชุดเฟืองตัวหนอน เจอร์นัลแบริ่ง และการหล่อลื่น โรลลิ่งแบริ่ง เบรก และคลัทช์ การเชื่อมต่อ สายพาน โซ่ และการเลือกใช้ให้ได้อย่างเหมาะสมกับเครื่องจักรกล พร้อมทั้งสามารเขียนแบบของงานเครื่องกลได้
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกรรมทางเครื่องกล อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่องานที่รับผิดชอบ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการคำนวณความแข็งแรงทางวิศวกรรมเครื่องกล มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยาย ถาม ตอบ พร้อมยกตัวอย่าง มอบหมายงานให้ทำในแต่ละสัปดาห์
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และตรงเวลา
1.3.2 งานที่มอบหมาย
2.1.1 พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับข้อมูลที่ควรรู้เกี่ยวกับเฟืองแบบต่างๆ
2.1.2 ความเค้นที่เกิดขึ้นบนเฟืองและการออกแบบเฟืองได้อย่างเหมาะสม
2.1.3 พื้นฐานความรู้เจอร์นัลแบริ่งแบบต่างๆ , โรลลิ่งแบริ่ง และการหล่อลื่น
2.1.4 คำนวณแรงและความเค้นบนเจอร์นัลแบริ่งแบบต่างๆ , โรลลิ่งแบริ่ง
2.1.5 ออกแบบเจอร์นัลแบริ่งแบบต่างๆ , โรลลิ่งแบริ่ง และเลือกลูกปืนแบริ่งได้อย่างเหมาะสม
2.1.6 พื้นฐานความรู้ระบบเบรคและระบบส่งกำลังผ่าน คลัทซ์ สายพาน และโซ่
2.1.7 การออกแบบระบบเบรกและระบบส่งกำลังแต่ละแบบได้อย่างเหมาะสม
2.1.8 เขียนแบบประกอบของงานเครื่องกลได้อย่างเหมาะสม
บรรยาย ถาม ตอบ พร้อมยกตัวอย่าง และการวิเคราะห์ปัญหาของความเค้นและความเครียดในชิ้นส่วนของเครื่องจักรกลพื้นฐานเพื่อการออกแบบเครื่องจักรกล
2.3.1 งานที่มอบหมาย
2.3.2 สอบกลางภาค
2.3.3 สอบปลายภาค
การแก้ปัญหาทางวิธีการคิดและคำนวณหาผลของความเค้นและความเครียดที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเพื่อการออกแบบพื้นฐาน
บรรยาย ถาม ตอบ ตั้งโจทย์เพื่อแก้ปัญหา
3.3.1 สอบกลางภาค
3.3.2 สอบปลายภาค
4.1.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.2 รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย
4.1.3 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน
4.2.1 มอบหมายงานทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม
4.2.2 สอดแทรกการบรรยายเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยในการออกแบบชิ้นส่วน
4.3.1 ประเมินจากการวางแผนงาน การแบ่งงานในการทำกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากงานบุคคลที่ได้รับมอบหมา
สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
ยกตัวอย่างการคำนวณและสุ่มเลือกนักศึกษาเพื่อทำการคำนวณตัวเลขในตัวอย่าง
การสอบกลางภาค และปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 5 1 2 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 3 4 5
1 31072304 การออกแบบเครื่องจักรกล 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 1, 2, 3, 5 สอบกลางภาค 8 35%
2 ข้อ 1, 2, 3, 5 สอบปลายภาค 17 40%
3 ข้อ 1, 2, 4, 5 การส่งงานรายบุคคล การเข้าชั้นเรียน และการตอบคำถาม ทุกสัปดาห์ 15%
4 ข้อ 1, 2, 3, 4 การส่งงานกลุ่ม และการอภิปราย 7 และ 16 10%
Budynas-Nisbett. Shigley’s Mechanical Engineering Design, Eight Edition. McGraw-Hill Companies, 2008.
- ชิกเลย์, โจเซฟ เอดวาร์ด. การออกแบบเครื่องจักรกล2. (แปลจาก Mechanical Engineering Design 2 โดย น.อ.ภาณุฤทธิ์ ยุกตุทัต). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ท้อป, 2548.
- ศ.ดร.วริทธิ์ อึ๊งภากรณ์ และรศ.ชาญ ถนัดงาน. การออกแบบเครื่องจักรกล เล่ม 2. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2523.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ