พุทธศาสนาและประติมานวิทยา
Buddhism and Iconography
จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติพุทธศาสนา องค์ประกอบของศาสนาและหลักธรรม และพัฒนาการของพุทธศาสนา และสามารถนำความรู้เรื่องประวัติพุทธศาสนาไปใช้ในวิชาชีพได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติพุทธศาสนา องค์ประกอบของศาสนาและหลักธรรม และพัฒนาการของพุทธศาสนา และสามารถนำความรู้เรื่องประวัติพุทธศาสนาไปใช้ในวิชาชีพได้
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
ศึกษาถึงกำเนิดและวิวัฒนาการของพุทธศาสนารวมทั้งความเกี่ยวข้องกับศาสนาอื่นๆ ตลอดจนศึกษาถึงประติมานวิทยาของรูปเคารพที่ปรากฏในภาพสลักประติมากรรมที่ค้นพบในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงโดยศึกษาประกอบกับตำนานความเชื่อทางศาสนา เพื่อที่สามารถนำมาประกอบกับวิชาชีพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ศึกษาถึงกำเนิดและวิวัฒนาการของพุทธศาสนารวมทั้งความเกี่ยวข้องกับศาสนาอื่นๆ ตลอดจนศึกษาถึงประติมานวิทยาของรูปเคารพที่ปรากฏในภาพสลักประติมากรรมที่ค้นพบในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงโดยศึกษาประกอบกับตำนานความเชื่อทางศาสนา เพื่อที่สามารถนำมาประกอบกับวิชาชีพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาถึงกำเนิดและวิวัฒนาการของพุทธศาสนารวมทั้งความเกี่ยวข้องกับศาสนาอื่นๆ ตลอดจนศึกษาถึงประติมานวิทยาของรูปเคารพที่ปรากฏในภาพสลักประติมากรรมที่ค้นพบในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงโดยศึกษาประกอบกับตำนานความเชื่อทางศาสนา
ศึกษาถึงกำเนิดและวิวัฒนาการของพุทธศาสนารวมทั้งความเกี่ยวข้องกับศาสนาอื่นๆ ตลอดจนศึกษาถึงประติมานวิทยาของรูปเคารพที่ปรากฏในภาพสลักประติมากรรมที่ค้นพบในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงโดยศึกษาประกอบกับตำนานความเชื่อทางศาสนา
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรมจริยธรรม
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
วิธีการสอน ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน ü 2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ ü 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ ü 5. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ ü 6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน ü
ใส่เครื่องหมาย ü ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน ü 2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ ü 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
4. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ ü 5. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ ü 6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน ü
วิธีการประเมินผล ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1) ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย ü 2) สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ü 3) ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน ü 4) กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก ü 5) ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1) ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย ü 2) สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ü 3) ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน ü 4) กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก ü 5) ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน ü
ด้านความรู้
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจ)
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจ)
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
Accountability ความรับผิดชอบ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
วิธีการสอน( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ ü 2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ ü 3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ü 4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน 5. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ ü 6. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ ü 2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ ü 3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ü 4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน 5. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ ü 6. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ ü
วิธีการประเมินผล ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน ü 2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค ü 3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน ü 4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน ü 2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค ü 3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน ü 4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า ü
. ทักษะทางปัญญา
Brilliance ความเฉลียวฉลาด (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
Brilliance ความเฉลียวฉลาด (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
วิธีการสอน ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย ü 2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม ü 3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา ü 4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ ü 5. กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย ü 2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม ü 3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา ü 4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ ü 5. กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการการควบคุมต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม ü
วิธีการประเมินผล ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ ü 2. การสอบข้อเขียน ü 3. การเขียนรายงาน ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ ü 2. การสอบข้อเขียน ü 3. การเขียนรายงาน ü
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
Learning การเรียนรู้ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
Learning การเรียนรู้ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
วิธีการสอน ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ ü 2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม ü 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ ü 2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม ü 3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา ü
3 วิธีการประเมินผล ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน ü 2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) ü 3. ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน ü 4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน ü 5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน ü 2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) ü 3. ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน ü 4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน ü 5. ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา ü
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
Ability ความรู้ความสามารถ (ตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะบริหารธุรกิจฯ)
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
วิธีการสอน ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ ü 2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน ü 3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน ü 4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ ü 5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการสอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ ü 2. ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน ü 3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน ü 4. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ ü 5. ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง ü
วิธีการประเมินผล ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ü 2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน ü 3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์ ü 4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ü 2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน ü 3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์ ü 4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า ü
ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
(ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552)
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
(ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552)
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
วิธีการสอน ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ ü 2. จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก ü 3. ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ 1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ ü 2. จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก ü 3. ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล ü
วิธีการประเมินผล ( ใส่เครื่องหมายให้ตรงตามที่ท่านปฏิบัติจริง )
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน ü 2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ü 3. ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน ü
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ 1. ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน ü 2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ü 3. ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน ü
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ด้านคุณธรรมจริยธรรม | ด้านความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.2.1.1 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 2.2.1.1 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 2.2.1.1 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม | 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ | 1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล | 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่าวามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล |
1 | 13011004 | พุทธศาสนาและประติมานวิทยา |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ผลการเรียนรู้ด้านทักษะคุณธรรมจริยธรรม | ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ | 4-10-15 | 20% |
2 | ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ | ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค | 9,18 | 10% |
3 | ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ผลการเรียนรู้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน | ทุกสัปดาห์ | 20% |
4 | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ประเมินนักศึกษาโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน | 10 | 10% |
5 | ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน | 10 | 20% |
6 | ผลการเรียนรู้ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ | ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ | 10 | 20% |
เชษฐ์ ติงสัญชลี. “การวิเคราะห์การแสดงวิตรรกมุทราสองพระหัตถ์ของพระพุทธรูปในศิลปะ
ทวารวดี.” วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.
ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยา. ตํานานพุทธเจดีย์. กรุงเทพฯ:
สํานักพิมพ์มติชน, 2545.
ผาสุข อินทราวุธ, รองศาสตราจารย์. พุทธปฏิมาฝ่ายมหายาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรสมัย, 2543.
_________. พุทธศาสนาและประติมานวิทยา.กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร,
2530.
ลิไทย, พญา. ไตรภูมิกถาหรอไตรภูมิพระร่วง . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2525.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. ศิลปะทวารวดี : วัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ด่าน
สุทธาการพิมพ์, 2547.
สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า. ท่องอารยธรรม: การค้นคว้าเกี่ยวกับโบราณคดีในประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ธุรกิจก้าวหน้า, 2540.
_________. ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000. กรุงเทพฯ : บริษัทรุ่งแสงการพิมพ์จํากัด,
2535.
_________. “พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ สมัยศรีวิชัยหรือหริภุญชัยในพิพิธภัณฑ์เมืองโบราณ.” เมือง
โบราณ 2, 3 (เมษายน-มิถุนายน 2519) : 7-12.
_________. ศิลปะขอม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2539.
_________. ศิลปะอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา, 2545.
_________. ศิลปะในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่11. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539.
_________. ศิลปสมัยลพบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2510.
สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์, หม่อมราชวงศ์. กัมพูชาราชลักษมีถึงศรีชยวรมัน. กรุงเทพ : สํานักพิมพ์มติชน, 2543.
พระพุทธปฏิมาในพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพฯ:อมรินทร์พริ้นติ้งกรุพ จํากัด, 2535. สํานักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ, กรมศิลปากร . พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา.
พิมพ์ครั้งที่ 2 , กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สมาพันธ์จํากัด, 2542.
แสง มนวิทูร, ร้อยตํารวจโท, ผู้แปล. คัมภีร์ลลิตวิสตระ. พระนคร: กรมศิลปากร, 2512.
ทวารวดี.” วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.
ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยา. ตํานานพุทธเจดีย์. กรุงเทพฯ:
สํานักพิมพ์มติชน, 2545.
ผาสุข อินทราวุธ, รองศาสตราจารย์. พุทธปฏิมาฝ่ายมหายาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรสมัย, 2543.
_________. พุทธศาสนาและประติมานวิทยา.กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดีมหาวิทยาลัยศิลปากร,
2530.
ลิไทย, พญา. ไตรภูมิกถาหรอไตรภูมิพระร่วง . พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2525.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. ศิลปะทวารวดี : วัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ด่าน
สุทธาการพิมพ์, 2547.
สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า. ท่องอารยธรรม: การค้นคว้าเกี่ยวกับโบราณคดีในประเทศไทย.
กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ธุรกิจก้าวหน้า, 2540.
_________. ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000. กรุงเทพฯ : บริษัทรุ่งแสงการพิมพ์จํากัด,
2535.
_________. “พระพุทธรูปสัมฤทธิ์ สมัยศรีวิชัยหรือหริภุญชัยในพิพิธภัณฑ์เมืองโบราณ.” เมือง
โบราณ 2, 3 (เมษายน-มิถุนายน 2519) : 7-12.
_________. ศิลปะขอม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2539.
_________. ศิลปะอินเดีย. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา, 2545.
_________. ศิลปะในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่11. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539.
_________. ศิลปสมัยลพบุรี. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2510.
สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์, หม่อมราชวงศ์. กัมพูชาราชลักษมีถึงศรีชยวรมัน. กรุงเทพ : สํานักพิมพ์มติชน, 2543.
พระพุทธปฏิมาในพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพฯ:อมรินทร์พริ้นติ้งกรุพ จํากัด, 2535. สํานักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ, กรมศิลปากร . พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา.
พิมพ์ครั้งที่ 2 , กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สมาพันธ์จํากัด, 2542.
แสง มนวิทูร, ร้อยตํารวจโท, ผู้แปล. คัมภีร์ลลิตวิสตระ. พระนคร: กรมศิลปากร, 2512.
วารสารศิลปะวัฒนธรรม
วารสารศิลปากร
วารสารศิลปากร
สำนักโบราณคดี 2537 โบราณคดีสี่ภาค เอกสารการสอน ภาควิชาโบราณคดี
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
เวปไซด์เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
เวปไซด์เกี่ยวข้องกับโบราณสถานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยวของกรมศิลปากร
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
เวปไซด์เกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
เวปไซด์เกี่ยวข้องกับโบราณสถานที่เกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยวของกรมศิลปากร
กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
เช่น การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์กับนิสิต / แบบประเมินอาจารย์และแบบประเมินรายวิชา
การสังเกตพฤติกรรมของนิสิต / ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ได้จัดทาไว้สื่อสารกับ นิสิต
เช่น การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์กับนิสิต / แบบประเมินอาจารย์และแบบประเมินรายวิชา
การสังเกตพฤติกรรมของนิสิต / ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ได้จัดทาไว้สื่อสารกับ นิสิต
กลยุทธ์การประเมินการสอน
เช่น
• การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
• ผลการสอบ/การเรียนรู้
• การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
• การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบและวิธีการประเมิน
เช่น
• การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
• ผลการสอบ/การเรียนรู้
• การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
• การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบและวิธีการประเมิน
การปรับปรุงการสอน
เช่น
• สัมมนา ประชุมปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอน
• การวิจัยในชั้นเรียน
เช่น
• สัมมนา ประชุมปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอน
• การวิจัยในชั้นเรียน
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด
4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด
4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3 ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย
5.4 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3 ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย
5.4 ปรับปรุงเนื้อหารายวิชที่ได้จากการวิจัย