ภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการ

English for Recreation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทและกระบวนการจัดกิจกรรมนันทนาการ ฝึกทักษะการจัดกิจกรรมนันทนาการ เช่นการจัดค่ายภาษาอังกฤษ การจัดกิจกรรมในชมรมภาษาอังกฤษเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทและกระบวนการจัดกิจกรรมนันทนาการ ฝึกทักษะการจัดกิจกรรมนันทนาการ เช่นการจัดค่ายภาษาอังกฤษ การจัดกิจกรรมในชมรมภาษาอังกฤษ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการจัดกิจกรรมนันทนาการ เป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสามารถดำเนินการจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และสามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการจัดกิจกรรมนันทนาการ เป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสามารถดำเนินการจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และสามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเอง โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.1 การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้สามารถประยุกต์ความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษกับการจัดกิจกรรมนันทนาการ และบูรณาการความรู้ที่ได้จากการศึกษาภาษาอังกฤษกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบของกิจกรรมนันทนาการ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่ใช้กิจกรรมเป็นฐาน (activity-based) โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรม
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2 การฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการรูปแบบต่าง ๆ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้านการประยุกต์ความรู้ทางภาษาอังกฤษ มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมกับสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การฝึกปฏิบัติ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 ทักษะในการทำงานเป็นทีม และการแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการทำงานได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้แสดงบทบาทสมมติต่าง ๆ
4.2.2 จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน โดยผลัดกันเป็นผู้นำกลุ่ม
4.2.3 กระตุ้นให้นักศึกษาช่วยกันค้นคว้า ระดมสมอง และแสดงความคิดเห็นในการฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ
4.3.1 ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อเป็นเครื่องมือในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
5.2.1 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้สื่อและเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสืบค้นและศึกษา
5.2.2 ให้นักศึกษาฝึกใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอโครงงานการจัดกิจกรรม
5.3.1 ผลการฝึกจัดทำและใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอของนักศึกษา
5.3.2 ผลจากการค้นคว้าข้อมูล และศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา
1 สามารถปฏิบัติงานโดยน าองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็น แนวทางในการด าเนินงานเพื่อสนับสนุนการด าเนินงานของธุรกิจ น ามาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจน พัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 3 สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการท างาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่าง เหมาะสม และมีความพอเพียงในการด าเนินชีวิต 4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิง บูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1 สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน 2 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง 3 สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน ฝึกงานทั้งภายในและภายนอก
1. งานที่ได้รับมอบหมายผลงาน หรือการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักศึกษา 2 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารใน สถานการณ์ต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกําหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม ความซื่อสัตย์สุจริตในการทํางานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การทดสอบโดยใชแบบทดสอบหรือสัมภาษณ สามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม
1 13031039 ภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผลการเรียนรู้ (1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1.1 การเข้าเรียนตรงเวลาสม่ำเสมอ 1.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 1.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 (2) ด้านความรู้และ (3) ทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 10% 10%
3 (4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ 4.1 นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม 4.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม (มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ความสนใจและ การมีส่วนรวมของนักศึกษา) ตลอดภาคการศึกษา 5% 5%
4 (5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ผลการฝึกจัดทำและใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอของนักศึกษา 5.2 ผลจากการค้นคว้าข้อมูลและศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 (6) ทักษะการปฏิบัติ 6.1 จัดค่ายภาษาอังกฤษ 6.2 ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษระหว่างกิจกรรมค่ายภาษาฯ 7-11 25% 25%
ไม่มี
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการ
 
 

ประสิทธิ์ ตงยิ่งศิริ. (ม.ป.ป.). การจัดทำแผนและโครงการ. ม.ป.ท. อเนก ช้างน้อย. 2532. นันทนาการ = Recreation. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Blanton, L. L. 2002. Idea Exchange 1: From speaking to writing. Boston: Heinle & Heinle. Christopher N. Candlin. 1985. The Communicative Teaching of English Principles and an Exercise Typology. Longman Group. England. Kelner, Lenore Blank. 1993. THE CREATIVE CLASSROOM. Portsmouth, NH: Heinemann. Milburn, D. 1998. Alarm clocks: Weird and wonderful exercises for English language learners. Burlingame, CA: Alta Book Center. Robbie, S., T. Ruggirello, and B. Warren. 2001. Using drama to bring language to life: Ideas, games and activities for teachers of languages and language arts. Ontario: Captus Press. UNICEF. 1998. Games and Exercises A manual for Facilitators and Trainers Involved in Participatory Group Events. New York, USA.

9. เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
          3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม