เทคโนโลยีการผลิตผัก

Vegetables Production Technology

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้าน
1) เข้าใจความสำคัญและประเภทของการผลิตผัก ได้แก่ การผลิตเพื่อบริโภคผลผลิตสด ผลิตเพื่ออุตสาหกรรม และการผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก
2) รู้และเข้าใจการจำแนกประเภทของผัก
3) รู้และเข้าใจสภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการผลิตผัก
4) รู้และเข้าใจการวางแผนการผลิตผักระบบปลอดภัยและระบบอินทรีย์
5) รู้และเข้าใจการวางแผนการผลิตเพื่อส่งตลาดสด โรงงานอุตสาหกรรมและการผลิต
เมล็ดพันธุ์ การเขตกรรม การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว และ ระบบตลาดของผักวงศ์ต่างๆ เช่น ผักวงศ์หอม วงศ์ข้าวโพดสำหรับบริโภคฝักสด วงศ์สลัด วงศ์กะหล่ำ วงศ์แตง วงศ์ถั่ว วงศ์กระเจี๊ยบ และ วงศ์พริกและมะเขือ
6) สามารถผลิตผักวงศ์ต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตได้
2.1 นักศึกษาสามารถรู้ เข้าใจและสามารถใช้เทคโนโลยีการผลิตผักที่ทันสมัย
2.2 นักศึกษาสามารถนำความรู้ ทักษะในด้านเทคโนโลยีการผลิตผักเพื่อประยุกต์ใช้ในการทำงานได้
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของพืชผักในการผลิต เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ  ได้แก่ การผลิตเพื่อส่งตลาดสด โรงงานอุตสาหกรรม และการผลิตเมล็ดพันธุ์ การวางแผนการผลิต การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังเก็บเกี่ยว ระบบตลาด อุปสรรคและศัตรู ตลอดจนวิธีหลีกเลี่ยง แก้ไขและกำจัด
 
Study and practice about the importance of vegetable production for various purposes. The including production for export markets, industrial factory and seed production. Production planning, cultural practices, harvest and post-harvest practices, market obstacles and avoid fix and removal pests.
    3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง อาคารเมล็ดพันธุ์พืช โทร...089-6330887
   3.2 e-mail; januluk@yahoo.com เวลา 8.30 – 16.30 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย   
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตาม
ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบบรรยาย  
6. การสอนแบบปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ
5. การสอนแบบบรรยาย
6. การสอนแบบปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนฝึกปฏิบัติการ
2. การสอนแบบบรรยาย
3. การสอนแบบปฏิบัติ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.ข้อสอบอัตนัย
7.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
6.1 สามารถปฏิบัติงานด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. ปฏิบัติการในห้องทดลอง
2. ปฏิบัติภาคสนาม
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.3,3.1,3.2 การทดสอบย่อย (Quiz) 1-17 10 %
2 2.1,3.2,4.1,4.2, 4.3,5.1,5.2,5.3 รายงานกลุ่ม 4 และ 8 10 %
3 1.1,2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบกลางภาค 9 25 %
4 2.1,3.2,4.1,4.2,4.3, 5.1,5.2,5.3 รายงานกลุ่ม 8 และ 17 10%
5 1.1, 2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบปลายภาค 18 30 %
6 1.1,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-17 5%
7 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1 - 17 5%
8 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8,17 5 %
กรมวิชาการเกษตร. 2543. มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ของประเทศไทย. 29 น.
กรมวิชาการเกษตร. 2551. ระบบการจัดการคุณภาพ : GAP พืช พริก. กรมวิชาการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 43 น.
จานุลักษณ์ ขนบดี. 2541. การผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก. พิมพ์ครั้งที่ 2  สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์ กรุงเทพ. 183 น.
               . 2554. การปลูกผักแนวเกษตรอินทรีย์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 30 น.
               . 2554. การผลิตเมล็ดพันธุ์ผัก. พิมพ์ครั้งที่ 1  สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. ลำปาง. 46 น.
               . มุกดา สุขสวัสดิ์ จินันทนา จอมดวง อัญชลี สงวนพงษ์ พรนิภา เลิศศิลป์มงคล
ทิพวรรณ มานนท์ และจิรภา พงษ์จันตา. 2550. ฟักทอง: การผลิตเมล็ดพันธุ์และการใช้ประโยชน์
พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพ. 120 น.
เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ และ พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์. 2529. การปรับปรุงพันธุ์พืชเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย. กลุ่มหนังสือเกษตร.  381 น.
มุกดา สุขสวัสดิ์. 2545. ปุ๋ยอินทรีย์. บ้านและสวน. 215 น.
มณีฉัตร นิกรพันธุ์. 2546. การปรับปรุงพันธุ์และผลิตเมล็ดพันธุ์ผักลูกผสม. คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 254 น.
เสาวคนธ์ ศรีบริกิจ. 2554. สถานการณ์เกษตรอินทรีย์. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร. กรุงเทพฯ. 7 น.
สำนักงานมาตรฐานอินทรีย์. 2554. มาตรฐานเกษตรอินทรีย์. จ. นนทบุรี. 54 น.
ภาษาต่างประเทศ
Decoteau Dennis R. 2000. Vegetable Crops. Upper Saddle River, NJ : Prentice Hall. 412 p..
Lammerts van Beuren, Radha Ranganathan and Neil Sorensen. 2004. Challenges and
          Opportunities in Organic Seed Production. Agriculture First World Conference of
          Organic Seed Challenges and Opportunities for Organic Agriculture and
the Seed Industry. July 5 – 7, 2004. FAO Headquaters, Rome. 188 p.
Maynard D. N. and G. J. Hochmuth. 2007. Knott’s Handbook for Vegetable Growers,
          Fifth Edition. John Wiley & Sons, Inc. 621 p.
Yamaguchi Mas. 1983. World Vegetables. AVI Publishing Company. P 19 – 22.
การปลูกผัก       เกษตรอินทรีย์              เกษตรปลอดภัย
เว็บไซด์ กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร และ สมาคมเมล็ดพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป