ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร

Physics 1 for Engineers

1.1 เข้าใจเรื่องแรง  การเคลื่อนที่แบบต่างๆ โมเมนตัมและพลังงาน ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ
1.2 เข้าใจเรื่องความร้อนและเสียง
1.3 ใช้สูตรคำนวณได้ทุกหัวข้อ
1.4 เข้าใจทักษะปฏิบัติงาน
1.5 ประยุกต์วิชาฟิสิกส์ 1 กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆได้
1.6 มีจิตพิสัยในการปฏิบัติงานอย่างมีระบบโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2.1  เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 
2.2  เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชาฟิสิกส์ 1 ไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับระบบหน่วยและเวกเตอร์ แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน งานและพลังงานโมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร็ง การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต กลศาสตร์ของไหล สมบัติเชิงกลของสาร ความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น คลื่นและคลื่นเสียง
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
- วิธีการเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) พร้อมกับการสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) โดยใช้การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) เข้ามาช่วย
- ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบอัตนัย
- งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
- การเขียนบันทึก
- การสังเกต
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
มีการสอนแบบบรรยายพร้อมการตั้งคำถาม (Questioning) เพื่อให้นักศึกษาเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) ด้วยตนเอง โดยการนำการสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction) มาช่วยให้ง่ายขึ้น 
จากการสอบอัตนัยและงานที่มอบหมาย
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.21  ยกตัวอย่างที่เหมะสมในระหว่างการบรรยาย
3.2.2 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบและมีการวิเคราะห์ปัญหา
3.2.3 เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม เพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษาในชั้นเรียน
3.3.1 สถานการณ์จำลอง
3.3.2 รายงานกลุ่ม
3.3.3 การสัมภาษณ์
3.3.4 ข้อสอบอัตนัย
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 สอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming) เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
4.2.2 จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์
4.2.3 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1 การสังเกต
4.3.2 การสัมภาษณ์
4.3.3 รายงานกลุ่มและรายงานบุคคล
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ใช้  Power point  มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 
5.2.2 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 
5.2.3 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.4 การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
5.3.1 รายงานกลุ่มกลุ่ม
5.3.2 การนำเสนองาน
5.3.3 การสังเกต
5.3.4 การสัมภาษณ์
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.1.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.1.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
-ไม่มี-
-ไม่มี-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 1 2 1 2 3 4 1 2 1 2 3
1 FUNSC101 ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ ทดสอบระหว่างเรียน ตามความเหมาะสม 70%
2 -ทักษะทางปัญญา -ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี - วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน - การทำงานกลุ่มและผลงาน - การอ่านและสรุปบทความ - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 มจธ. , ฟิสิกส์ 1         
1.2 Schaum’s out line series}, Physics 1
1.3 ฟิสิกส์ระดับมหาวิทยาลัย ภาคกลศาสตร์  . ผศ.จรัส บุณยธรรมา , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพฯ : สุริยาสาส์น,2543
ฟิสิกส์ 1. คณาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์   คณะวิทยาศาสตร์   จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2541.
กลศาสตร์เวกเตอร์  พลศาสตร์ภาคแรก . ผศ.จรัส บุณยธรรมา     , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ : สุริยาสาส์น,2543
กลศาสตร์วิศวกรรม. อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์ . กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์,2542
โจทย์ประกอบการเรียนฟิสิกส์ . ผศ.จรัส บุณยธรรมา , สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ : สุริยาสาส์น,2543
รศ.ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์  , ฟิสิกส์มหาวิทยาลัย
R.A. Serway, J.W. Jewett , Physics for Scientists and Engineers 6th ed.,
ฟิสิกส์ราชมงคล : http://www.electron.rmutphysics.com/physics/charud/scibook/electronic-physics1/content.html
   การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน โดยมีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติตตามงานที่มอบหมาย
2.3 การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
   3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอน จากผลการประเมินของนักศึกษา
   3.2 การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
   3.3 รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยทำการสำรวจเบื้องต้นจากผลการประเมินการเรียนรู้ เพื่อนำไปสู่การทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.2 ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
4.3 การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมินพฤติกรรม
5.1 นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองพัฒนาความคิดที่หลากหลาย