เศรษฐศาสตร์จุลภาค
Microeconomics
1) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจประเด็นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์จุลภาค
2) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหน้าที่และบทบาทของหน่วยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ กลไกและแนวคิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค ในด้านอุปสงค์ อุปทาน ภาวะดุลยภาพ ความยืดหยุ่น การแทรกแซงราคาของรัฐบาล
3) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภคทั้งทฤษฎีอรรถประโยชน์และเส้นความพอใจเท่ากัน
4) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจทฤษฎีการผลิต ต้นทุนการผลิต ดุลยภาพของหน่วยผลิตและอุตสาหกรรมในตลาดแข่งขันสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
5) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ปรับตัวเข้ากับสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
6) เพื่อให้ผู้เรียนนำไปต่อยอดความรู้ในการศึกษาต่อระดับที่สูงขึ้นต่อไป
2) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหน้าที่และบทบาทของหน่วยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ กลไกและแนวคิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค ในด้านอุปสงค์ อุปทาน ภาวะดุลยภาพ ความยืดหยุ่น การแทรกแซงราคาของรัฐบาล
3) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภคทั้งทฤษฎีอรรถประโยชน์และเส้นความพอใจเท่ากัน
4) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจทฤษฎีการผลิต ต้นทุนการผลิต ดุลยภาพของหน่วยผลิตและอุตสาหกรรมในตลาดแข่งขันสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
5) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ปรับตัวเข้ากับสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
6) เพื่อให้ผู้เรียนนำไปต่อยอดความรู้ในการศึกษาต่อระดับที่สูงขึ้นต่อไป
ในอนาคตมหาวิทยาลัยทั่วประเทศต้องมาร่วมกันพัฒนารายวิชาร่วมกัน โดยให้มหาวิทยาลัยใดหนึ่งแห่งเป็นตัวกลางในการพัฒนารายวิชาร่วมกัน ทั้งนี้ต้องได้รับงบสนับสนุนจากสำนักงานการอุดมศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ หน้าที่และบทบาทของหน่วยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ กลไกและแนวคิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค ในด้านอุปสงค์ อุปทาน ภาวะดุลยภาพ ความยืดหยุ่น การแทรกแซงราคาของรัฐบาล ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภคทั้งทฤษฎีอรรถประโยชน์และเส้นความพอใจเท่ากัน ทฤษฎีการผลิต ต้นทุนการผลิต ดุลยภาพของหน่วยผลิตและอุตสาหกรรมในตลาดแข่งขันสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์
1) อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์โดยตรงระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
2) อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
2) อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1) มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม สอนสอดแทรกความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ปลูกฝังความตรงต่อเวลาให้นักศึกษาเข้าเรียนให้ตรงเวลา และสอนให้นักศึกษารู้จักรับผิดชอบต่อทรัพยากร และสาธารณาประโยชน์ เช่น ไฟฟ้า น้ำประปา การทดสอบย่อยรายหน่วยของหน่วยที่เรียนจบแล้วในสัปดาห์ที่แล้วในช่วงต้นชั่วโมง เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา มีการรับ ส่งงานแต่ละขั้นตอนของงานตรงตามเวลาที่กำหนด ผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
2) มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม ให้นักศึกษารู้จักให้เกียรติสถาบัน ตนเอง และผู้สอนด้วยการแต่งกายให้ถูกระเบียบทุกครั้งที่เข้าชั้นเรียน การไม่ใช้เครื่องมือสื่อสารระหว่างมีการเรียนการสอนอันจะเป็นการทำลายสมาธิเพื่อนร่วมชั้นเรียน และเมื่อนักศึกษาคนใดต้องการติดต่อสื่อสาร รับโทรศัพท์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ให้นักศึกษาสามารถขออนุญาตออกนอกห้องเรียนได้ เมื่อตั้งคำถามให้นักศึกษาตอบคำถามเป็นรายบุคคลตามความเข้าใจของตนเอง ในแต่ละหัวข้อย่อย แล้วจะทำการสังเกตว่านักศึกษาจะเปิดหนังสือหรือสมุดบันทึกดูหรือไม่ และให้นักศึกษาคนใดก็ได้อาสาเป็นผู้ตอบ แล้วจะทำการบันทึกมีนักศึกษาที่ตอบตามความเข้าใจของตนเองโดยไม่เปิดสมุดบันทึก เพื่อทดสอบความซื่อสัตย์ ผู้สอนจะกล่าวชมเชยนักศึกษาที่อาสาตอบคำถาม หรือตอบคำถามถูกต้อง
3) มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดีและความชั่ว สอนสอดแทรกจิตสำนึกให้รู้จักผิดชอบชั่วดี ให้มีมโนธรรมด้วยการหลีกเลี่ยงการมีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี สอนให้รู้จักวางเป้าหมายในชีวิต เพื่อให้อยากพยายามทำความดี พยายามตั้งใจเรียน ด้วยการเล่าประสบการณ์ผู้ที่ประสบความสำเร็จในชีวิต เช่น ศิษย์เก่า หรือรุ่นพี่ที่สำเร็จการศึกษา
2) มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม ให้นักศึกษารู้จักให้เกียรติสถาบัน ตนเอง และผู้สอนด้วยการแต่งกายให้ถูกระเบียบทุกครั้งที่เข้าชั้นเรียน การไม่ใช้เครื่องมือสื่อสารระหว่างมีการเรียนการสอนอันจะเป็นการทำลายสมาธิเพื่อนร่วมชั้นเรียน และเมื่อนักศึกษาคนใดต้องการติดต่อสื่อสาร รับโทรศัพท์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ให้นักศึกษาสามารถขออนุญาตออกนอกห้องเรียนได้ เมื่อตั้งคำถามให้นักศึกษาตอบคำถามเป็นรายบุคคลตามความเข้าใจของตนเอง ในแต่ละหัวข้อย่อย แล้วจะทำการสังเกตว่านักศึกษาจะเปิดหนังสือหรือสมุดบันทึกดูหรือไม่ และให้นักศึกษาคนใดก็ได้อาสาเป็นผู้ตอบ แล้วจะทำการบันทึกมีนักศึกษาที่ตอบตามความเข้าใจของตนเองโดยไม่เปิดสมุดบันทึก เพื่อทดสอบความซื่อสัตย์ ผู้สอนจะกล่าวชมเชยนักศึกษาที่อาสาตอบคำถาม หรือตอบคำถามถูกต้อง
3) มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดีและความชั่ว สอนสอดแทรกจิตสำนึกให้รู้จักผิดชอบชั่วดี ให้มีมโนธรรมด้วยการหลีกเลี่ยงการมีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี สอนให้รู้จักวางเป้าหมายในชีวิต เพื่อให้อยากพยายามทำความดี พยายามตั้งใจเรียน ด้วยการเล่าประสบการณ์ผู้ที่ประสบความสำเร็จในชีวิต เช่น ศิษย์เก่า หรือรุ่นพี่ที่สำเร็จการศึกษา
1) ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ด้วยการเข้าสอนตรงเวลา เช็คชื่อก่อนเริ่มต้นสอนทุกครั้ง หรืออาจใช้วิธีการทดสอบย่อยหน่วยเรียนที่ผ่านมาตอนต้นชั่วโมง เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ทดสอบความมีสำนึกสาธารณะสังเกตพฤติกรรมการปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าหลังเลิกใช้งาน โดยไม่มีการแจ้งล่วงหน้า เพื่อทราบถึงความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม แสร้งว่า ลืมทดสอบย่อยรายหน่วยทั้งที่มีการนัดไว้แล้ว เพื่อทดสอบความซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น หรือ กำหนดให้มีการรับส่งงานแต่ละขั้นตอนของงานผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่มีการย้ำ เพื่อทดสอบซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น
2) ให้การยกย่องชมเชยผู้ที่มีความซื่อสัตย์เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี กล่าวยกย่องชมเชยกับนักศึกษาที่มีสำนึกสาธารณะ เช่น นักศึกษาที่ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าหลังเลิกใช้งาน นักศึกษาที่เป็นผู้แจ้งว่ามีการนัดทดสอบเก็บคะแนนรายหน่วย และนักศึกษาที่เข้าห้องเรียนตรงเวลาตลอดทั้งภาคการศึกษา ในการเรียนการสอนในห้องเรียน ตรวจสอบความซื่อสัตย์ด้วยวิธีการตรวจสอบจากรายงาน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ว่านักศึกษามีการคัดลอกงานของผู้อื่นมาจากอินเตอร์เน็ตโดยมิได้มีการวิเคราะห์หรือไม่ด้วยการพิจารณาจากเนื้อหาของรายงาน และเอกสารที่ใช้อ้างอิงประกอบ เพื่อเป็นการทดสอบว่านักศึกษามีความซื่อสัตย์ต่อตัวเองหรือไม่
3) กำหนดระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบ ผู้สอนจะต้องกำหนดระเบียบลงโทษของผู้ที่ทุจริตการสอบให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า เพื่อให้นักศึกษาเคารพกฎร่วมกัน ว่า หากมีการทุจริตในการสอบรายหน่วย สอบกลางภาค หรือปลายภาค ผู้สอนจะให้นักศึกษารายดังกล่าวสอบใหม่ โดยใช้ข้อสอบคนละชุดที่มีความยากกว่า เช่น เปลี่ยนจากข้อสอบปรนัยเป็นข้อสอบอัตนัย เป็นต้น หรือผู้สอนจะตั้งคำถามใหม่กับนักศึกษาที่เปิดสมุดบันทึกในการตอบถาม โดยตั้งกติกาว่าให้นักศึกษาตอบคำถามตามความเข้าใจของนักศึกษาโดยไม่เปิดสมุดบันทึก
ให้นักศึกษาที่ทุจริตในการสอบรายหน่วย สอบกลางภาค และปลายภาค ด้วยการปรับปรุง
การตรวจสอบรายงานก่อนส่งด้วยการให้นักศึกษาส่งรายงานฉบับร่างทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ล่วงหน้าเพื่อพิจารณาปรับปรุงแก้ไข ก่อนนำส่งรายงานฉบับจริง หากพบว่ามีการคัดลอก จะให้นักศึกษาปรับปรุงแก้ไข หรือทำใหม่
หากพบว่า ยังคงมีนักศึกษาที่มีการติดต่อสื่อสาร รับโทรศัพท์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ผู้สอนจะเป็นผู้อนุญาตให้ออกจากห้องเรียนเพื่อทำกิจกรรมดังกล่าว
2) ให้การยกย่องชมเชยผู้ที่มีความซื่อสัตย์เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี กล่าวยกย่องชมเชยกับนักศึกษาที่มีสำนึกสาธารณะ เช่น นักศึกษาที่ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าหลังเลิกใช้งาน นักศึกษาที่เป็นผู้แจ้งว่ามีการนัดทดสอบเก็บคะแนนรายหน่วย และนักศึกษาที่เข้าห้องเรียนตรงเวลาตลอดทั้งภาคการศึกษา ในการเรียนการสอนในห้องเรียน ตรวจสอบความซื่อสัตย์ด้วยวิธีการตรวจสอบจากรายงาน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ว่านักศึกษามีการคัดลอกงานของผู้อื่นมาจากอินเตอร์เน็ตโดยมิได้มีการวิเคราะห์หรือไม่ด้วยการพิจารณาจากเนื้อหาของรายงาน และเอกสารที่ใช้อ้างอิงประกอบ เพื่อเป็นการทดสอบว่านักศึกษามีความซื่อสัตย์ต่อตัวเองหรือไม่
3) กำหนดระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบ ผู้สอนจะต้องกำหนดระเบียบลงโทษของผู้ที่ทุจริตการสอบให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า เพื่อให้นักศึกษาเคารพกฎร่วมกัน ว่า หากมีการทุจริตในการสอบรายหน่วย สอบกลางภาค หรือปลายภาค ผู้สอนจะให้นักศึกษารายดังกล่าวสอบใหม่ โดยใช้ข้อสอบคนละชุดที่มีความยากกว่า เช่น เปลี่ยนจากข้อสอบปรนัยเป็นข้อสอบอัตนัย เป็นต้น หรือผู้สอนจะตั้งคำถามใหม่กับนักศึกษาที่เปิดสมุดบันทึกในการตอบถาม โดยตั้งกติกาว่าให้นักศึกษาตอบคำถามตามความเข้าใจของนักศึกษาโดยไม่เปิดสมุดบันทึก
ให้นักศึกษาที่ทุจริตในการสอบรายหน่วย สอบกลางภาค และปลายภาค ด้วยการปรับปรุง
การตรวจสอบรายงานก่อนส่งด้วยการให้นักศึกษาส่งรายงานฉบับร่างทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ล่วงหน้าเพื่อพิจารณาปรับปรุงแก้ไข ก่อนนำส่งรายงานฉบับจริง หากพบว่ามีการคัดลอก จะให้นักศึกษาปรับปรุงแก้ไข หรือทำใหม่
หากพบว่า ยังคงมีนักศึกษาที่มีการติดต่อสื่อสาร รับโทรศัพท์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ผู้สอนจะเป็นผู้อนุญาตให้ออกจากห้องเรียนเพื่อทำกิจกรรมดังกล่าว
นักศึกษาสาขาการจัดการจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของรายวิชาที่ศึกษาเพื่อสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม มาตรฐานการเรียนรู้ครอบคลุมถึง
1) ประเมินจากเวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาและเวลาการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย บันทึกสถิตินักศึกษาที่ตอบคำถามโดยมีการเปิดสมุดบันทึกก่อนตอบคำถามความเข้าใจ บันทึกสถิตินักศึกษาที่มีอากัปกิริยาที่พิสูจน์ทราบได้ว่านักศึกษาทุจริตในการสอบ เช่น แอบเปิดสมุดบันทึกในห้องสอบ หรือในระหว่างทดสอบย่อย แอบถามเพื่อนในห้องสอบ และบันทึกสถิตินักศึกษาที่มีการส่งรายงานในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ตามเวลาที่กำหนด แล้วทำการตรวจสอบว่า มีการปรับแก้ไขรายงานฉบับร่าง หรือไม่
2) ประเมินจากผลงานกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน ประเมินจากการนำเสนอรายงานกลุ่ม ว่านักศึกษาสามารถทำงานร่วมกัน แบ่งงานกันทำได้ดีเพียงใด และประเมินการมีความเคารพต่อกฎ ด้วยการกำหนดให้ต้องส่งหัวข้อการนำเสนอรายงานล่วงหน้าเพื่อจัดลำดับการรายงานหน้าชั้นเรียน แล้วกำหนดให้มีการแบ่งหน้าที่กันภายในกลุ่มออกเป็นหน้าที่ต่างๆ เช่น หัวหน้ากลุ่ม และพิธีกรดำเนินรายการ แล้วทำการประเมินผลจากความสามารถปฏิบัติตามแผนของการแบ่งงาน
1) ประเมินจากเวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาและเวลาการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย บันทึกสถิตินักศึกษาที่ตอบคำถามโดยมีการเปิดสมุดบันทึกก่อนตอบคำถามความเข้าใจ บันทึกสถิตินักศึกษาที่มีอากัปกิริยาที่พิสูจน์ทราบได้ว่านักศึกษาทุจริตในการสอบ เช่น แอบเปิดสมุดบันทึกในห้องสอบ หรือในระหว่างทดสอบย่อย แอบถามเพื่อนในห้องสอบ และบันทึกสถิตินักศึกษาที่มีการส่งรายงานในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ตามเวลาที่กำหนด แล้วทำการตรวจสอบว่า มีการปรับแก้ไขรายงานฉบับร่าง หรือไม่
2) ประเมินจากผลงานกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน ประเมินจากการนำเสนอรายงานกลุ่ม ว่านักศึกษาสามารถทำงานร่วมกัน แบ่งงานกันทำได้ดีเพียงใด และประเมินการมีความเคารพต่อกฎ ด้วยการกำหนดให้ต้องส่งหัวข้อการนำเสนอรายงานล่วงหน้าเพื่อจัดลำดับการรายงานหน้าชั้นเรียน แล้วกำหนดให้มีการแบ่งหน้าที่กันภายในกลุ่มออกเป็นหน้าที่ต่างๆ เช่น หัวหน้ากลุ่ม และพิธีกรดำเนินรายการ แล้วทำการประเมินผลจากความสามารถปฏิบัติตามแผนของการแบ่งงาน
1) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ทีครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนมีความรู้ในเศรษฐศาสตร์จุลภาค หน่วยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจ กลไกและแนวคิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค อุปสงค์ อุปทาน ภาวะดุลยภาพ ความยืดหยุ่น การแทรกแซงราคาของรัฐบาล ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต ตลอดจนมีความรู้ในอุตสาหกรรมที่อยู่ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน เมื่อผู้เรียนมีความรู้ในเศรษฐศาสตร์จุลภาคแล้ว สามารถวิเคราะห์ อธิบายสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันโดยใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค สามารถเสนอแนะแนวความคิดในมุมมองของผู้เรียนเป็นประโยชน์ในการวางแผนธุรกิจได้
3) มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหาสภาวะเศรษฐกิจ สาเหตุของปัญหาเศรษฐกิจ อธิบายเป็นตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์ กำหนดตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ แล้วนำตัวแบบมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจจริง
2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน เมื่อผู้เรียนมีความรู้ในเศรษฐศาสตร์จุลภาคแล้ว สามารถวิเคราะห์ อธิบายสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันโดยใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค สามารถเสนอแนะแนวความคิดในมุมมองของผู้เรียนเป็นประโยชน์ในการวางแผนธุรกิจได้
3) มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหาสภาวะเศรษฐกิจ สาเหตุของปัญหาเศรษฐกิจ อธิบายเป็นตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์ กำหนดตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ แล้วนำตัวแบบมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจจริง
1) ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง ภายหลังจากการบรรยายทุกหัวข้อบทเรียนเศรษฐศาสตร์จุลภาค ผู้สอนจะทดสอบความเข้าใจผู้เรียนด้วยการแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม แล้วตั้งคำถามเพื่อทดสอบความเข้าใจในทฤษฎีนั้นๆ เช่น ประเภทของอุปสงค์ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมาวาดกราฟอธิบายความตามเข้าใจ หากกลุ่มใดใช้เวลาน้อยที่สุด ทำเสร็จก่อนและถูกต้องจะได้สูงสุด และหากกลุ่มใดใช้เวลาเพิ่มขึ้น และถูกต้อง จะได้คะแนนลดหลั่นกันลงมา ในแต่ละบทเรียนจะกระทำเช่นนี้แล้วให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ผลัดเปลี่ยนตัวแทนออกมาวาดกราฟตอบคำถามตอนท้ายชั่วโมงเพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้ที่ตนเองได้จากห้องเรียน แล้วผู้สอนจะเฉลยพร้อมอธิบาย
2) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ เพื่อเป็นกรณีศึกษาที่ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้กับปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ ด้วยการวิเคราะห์เข้ากับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ตอนท้ายภาคเรียนให้ผู้เรียนรวบรวมความรู้นอกเหนือจากบทเรียนด้วยการค้นคว้าข่าวเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจที่เป็นประเด็นที่น่าสนใจ จากสื่อออนไลน์ หรือข่าวเศรษฐกิจ เศรษฐกิจการเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม และบริการ อธิบายสรุปใส่โปสเตอร์ขนาด A3 โดยมีเนื้อหารายละเอียดที่ประกอบด้วย ข่าวเศรษฐกิจ อภิปรายและวิเคราะห์ สังเคราะห์ ว่าข่าวที่นำมานั้นเกี่ยวข้องกับทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ใด แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคในหน่วยเรียนที่เกี่ยวข้อง แสดงรูปกราฟที่เกี่ยวข้อง สรุปข่าว แล้วแสดงที่มาของข่าวด้วยบรรณานุกรม
2) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ เพื่อเป็นกรณีศึกษาที่ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้กับปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ ด้วยการวิเคราะห์เข้ากับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ตอนท้ายภาคเรียนให้ผู้เรียนรวบรวมความรู้นอกเหนือจากบทเรียนด้วยการค้นคว้าข่าวเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจที่เป็นประเด็นที่น่าสนใจ จากสื่อออนไลน์ หรือข่าวเศรษฐกิจ เศรษฐกิจการเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม และบริการ อธิบายสรุปใส่โปสเตอร์ขนาด A3 โดยมีเนื้อหารายละเอียดที่ประกอบด้วย ข่าวเศรษฐกิจ อภิปรายและวิเคราะห์ สังเคราะห์ ว่าข่าวที่นำมานั้นเกี่ยวข้องกับทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ใด แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคในหน่วยเรียนที่เกี่ยวข้อง แสดงรูปกราฟที่เกี่ยวข้อง สรุปข่าว แล้วแสดงที่มาของข่าวด้วยบรรณานุกรม
1) มีการทดสอบย่อย และการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน การทดสอบความรู้รายหน่วยด้วยการประเมินจากการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน ทั้งเป็นรายกลุ่มและรายบุคคล ทั้งการทำแบบฝึกหัดหน้าชั้นเรียน และการทำแบบฝึกหัดท้ายบท โดยจะมีการนัดเวลาตั้งแต่ตอนต้นภาคการศึกษาว่าให้ส่งแบบฝึกหัดท้ายบทของทุกบทในวันก่อนวันที่มีการเรียนรายวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคก่อนหนึ่งวัน ทั้งนี้ผู้สอนจะทำการประเมินความเข้าใจจากความถูกต้องของแบบฝึกหัด และประเมินความมีวินัยและความตรงต่อเวลาของผู้เรียนด้วยการส่งตรงเวลา
2) ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา การนำเสนอผลงานที่มอบหมายเกี่ยวกับโปสเตอร์วิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจตอนท้ายภาคการศึกษา โดยจะมีการกำหนดการส่งก่อนวันสอบปลายภาควันสุดท้าย
2) ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา การนำเสนอผลงานที่มอบหมายเกี่ยวกับโปสเตอร์วิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจตอนท้ายภาคการศึกษา โดยจะมีการกำหนดการส่งก่อนวันสอบปลายภาควันสุดท้าย
1) สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่รอให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม การให้นักผู้เรียนนำกรณีศึกษาจากข่าวเศรษฐกิจจำนวน 1 เรื่อง มาวิเคราะห์เชื่อมโยงจากองค์ความรู้เศรษฐศาสตร์จุลภาค ให้นักศึกษาค้นหาปัญหา ค้นหาสาเหตุของปัญหาจากข่าวเศรษฐกิจที่นำเสนอ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ทักษะในการสืบค้นข้อมูลจากหนังสือตำราเรียนทางเศรษฐศาสตร์ และสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือแม้แต่การค้นหาแหล่งข้อมูลวัตถุดิบ เพราะฉะนั้นจะเป็นการประมวลความรู้ของผู้เรียนจากห้องเรียนสู่การประกอบการจริง เพื่อนักศึกษาสามารถนำปัญหามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ทฤษฎีมาใช้ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในโลกของธุรกิจจริงได้
2) มีความกล้าคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน เมื่อนักศึกษารู้จักการเข้าถึงปัญหาจากสถานประกอบการจริง ประกอบกับการนำความรู้มาใช้กับปัญหาจากข่าวเศรษฐกิจที่นำมาวิเคราะห์ ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ที่ได้นั้นกับข่าวเศรษฐกิจโดยใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นยังทำให้ผู้เรียนเข้าใจความเป็นไปของปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศชาติ และโลก อันจะนำไปสู่นักศึกษาที่มีวิสัยทัศน์ในการเสพสื่อ สิ่งพิมพ์ ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตลอดจนปลูกฝังการเป็นคนรู้จักคิด คิดค้น แปลความหมาย ตีความอย่างเข้าใจ
2) มีความกล้าคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน เมื่อนักศึกษารู้จักการเข้าถึงปัญหาจากสถานประกอบการจริง ประกอบกับการนำความรู้มาใช้กับปัญหาจากข่าวเศรษฐกิจที่นำมาวิเคราะห์ ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ที่ได้นั้นกับข่าวเศรษฐกิจโดยใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นยังทำให้ผู้เรียนเข้าใจความเป็นไปของปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศชาติ และโลก อันจะนำไปสู่นักศึกษาที่มีวิสัยทัศน์ในการเสพสื่อ สิ่งพิมพ์ ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตลอดจนปลูกฝังการเป็นคนรู้จักคิด คิดค้น แปลความหมาย ตีความอย่างเข้าใจ
1) กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม การทำโปสเตอร์วิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ 1 เรื่อง จะมีสมาชิกกลุ่มละ 2 คน เพื่อให้นักศึกษารู้จักการทำงานเป็นทีม และมีการแบ่งงานกันทำตามความถนัด เสริมสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นกับทีม การเตรียมการ การวางแผนการทำงาน การแบ่งงานกันทำ และการเขียนในเชิงวิชาการ จะเป็นการฝึกหัดให้นักศึกษาที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการเขียนบทความในเชิงวิชาการ ฝึกคิดบนพื้นฐานของตรรกะ (Logic) นำมาวิเคราะห์ค้นหาตัวแปรเหตุที่กำหนดตัวแปรผล แล้วสามารถสร้างเป็นตัวแบบทางตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ที่ใช้อธิบายพฤติกรรมทางเศรษฐศาสตร์ บนพื้นฐานองค์ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ ในการอธิบายสภาพความเป็นไปของข่าวเศรษฐกิจ การบริหารจัดการ การบัญชี และการตลาด
2) มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางแก้ไข การนำเสนอโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ โดยเริ่มต้นจากข่าวเศรษฐกิจในประเทศไทย ใกล้ตัวนักศึกษา จะทำให้นักศึกษารู้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงนอกเหนือจากการบอกเล่าจากในตำรา จะทำให้นักศึกษาก่อเกิดความคิดในการวิเคราะห์ปัญหา การเปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอและวิเคราะห์ข่าว จะเป็นเวทีที่ให้ผู้เรียนสามารถอภิปรายและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจได้อย่างมีหลักการทางเศรษฐศาสตร์
นอกจากนั้น การให้นักศึกษาได้มีโอกาสแสดงความคิดความเห็น ด้วยวิธีการนำเสนอผลการศึกการค้นคว้าจะเป็นการฝึกการพูดในที่สาธารณะ การพูดเชิงวิชาการ การจัดการนำเสนอ การใช้ภาษาในการนำเสนอ ฝึกการใช้ทักษะในการติดต่อประสานงานและการเตรียมการ ฝึกการสรุปความคิดและนำเสนอตามหลักเหตุและผล ฝึกการใช้สื่ออุปกรณ์นำเสนออย่างเหมาะสมกับข้อมูล เหมาะสมกับผู้ฟัง เหมาะสมกับโอกาสและระยะเวลา
3) เน้นถึงศาสตร์และศิลป์ รวมถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน และให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอผลงานจริง การนำเสนอและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ จากการที่ได้ศึกษาค้นคว้าจากทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ในการบริหารจัดการการนำเสนอ นักศึกษาต้องใช้ความสามารถ ทักษะที่หลากหลายทั้งศาสตร์และศิลป์ เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง เช่น การติดต่อประสานงานบุคคลสำคัญ อาจารย์ผู้เข้าร่วมฟัง จะใช้วิธีการนำเสนอที่หลากหลาย ทั้งจากภาพประกอบ ตัวอย่างจริง หรือแบบจำลอง เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ผู้ฟังการนำเสนอ การลำดับการนำเสนอ การโน้มน้าวความสนใจจากผู้ฟัง การแบ่งหน้าที่ในการนำเสนอ การจัดเตรียมสื่อสิ่งพิมพ์และอุปกรณ์ในการนำเสนอ ตลอดจนความสามารถในการแก้ปัญหา
2) มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางแก้ไข การนำเสนอโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ โดยเริ่มต้นจากข่าวเศรษฐกิจในประเทศไทย ใกล้ตัวนักศึกษา จะทำให้นักศึกษารู้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงนอกเหนือจากการบอกเล่าจากในตำรา จะทำให้นักศึกษาก่อเกิดความคิดในการวิเคราะห์ปัญหา การเปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอและวิเคราะห์ข่าว จะเป็นเวทีที่ให้ผู้เรียนสามารถอภิปรายและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจได้อย่างมีหลักการทางเศรษฐศาสตร์
นอกจากนั้น การให้นักศึกษาได้มีโอกาสแสดงความคิดความเห็น ด้วยวิธีการนำเสนอผลการศึกการค้นคว้าจะเป็นการฝึกการพูดในที่สาธารณะ การพูดเชิงวิชาการ การจัดการนำเสนอ การใช้ภาษาในการนำเสนอ ฝึกการใช้ทักษะในการติดต่อประสานงานและการเตรียมการ ฝึกการสรุปความคิดและนำเสนอตามหลักเหตุและผล ฝึกการใช้สื่ออุปกรณ์นำเสนออย่างเหมาะสมกับข้อมูล เหมาะสมกับผู้ฟัง เหมาะสมกับโอกาสและระยะเวลา
3) เน้นถึงศาสตร์และศิลป์ รวมถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน และให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอผลงานจริง การนำเสนอและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ จากการที่ได้ศึกษาค้นคว้าจากทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ในการบริหารจัดการการนำเสนอ นักศึกษาต้องใช้ความสามารถ ทักษะที่หลากหลายทั้งศาสตร์และศิลป์ เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง เช่น การติดต่อประสานงานบุคคลสำคัญ อาจารย์ผู้เข้าร่วมฟัง จะใช้วิธีการนำเสนอที่หลากหลาย ทั้งจากภาพประกอบ ตัวอย่างจริง หรือแบบจำลอง เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ผู้ฟังการนำเสนอ การลำดับการนำเสนอ การโน้มน้าวความสนใจจากผู้ฟัง การแบ่งหน้าที่ในการนำเสนอ การจัดเตรียมสื่อสิ่งพิมพ์และอุปกรณ์ในการนำเสนอ ตลอดจนความสามารถในการแก้ปัญหา
1) ประเมินจากการนำเสนอข่าวเศรษฐกิจ รายงานการศึกษาค้นคว้า อภิปรายกรณีศึกษา เพื่อให้หาสาเหตุของปัญหาในกรณีศึกษาข่าวเศรษฐกิจ แล้วนำมาอธิบายเป็นตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์ และตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้อธิบายธุรกิจประเภทอื่นภายใต้ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคต่อไป
2) ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบในกรณีศึกษาของข่าวเศรษฐกิจอื่นที่มีปัญหาที่คล้ายคลึงกัน แล้วให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์ค้นหาตัวแปรสาเหตุของปัญหา สร้างตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้ในการพยากรณ์ต่อไป
3) ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา การทำโปสเตอร์เป็นการบูรณาการความรู้ต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกัน เช่น เศรษฐศาสตร์จุลภาค การบริหารธุรกิจ การวางแผน การจัดการ การแบ่งงานกันทำ การจัดสรรทรัพยากร วัตถุดิบ บุคลากร และเวลาเพื่อใช้สำหรับการวางแผนงาน ก่อนที่จะนำเสนองานด้วยปากเปล่า กระบวนการทั้งหมดล้วนแล้วแต่สามารถประเมินจากผลการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอนได้ทั้งสิ้น
2) ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบในกรณีศึกษาของข่าวเศรษฐกิจอื่นที่มีปัญหาที่คล้ายคลึงกัน แล้วให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์ค้นหาตัวแปรสาเหตุของปัญหา สร้างตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้ในการพยากรณ์ต่อไป
3) ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา การทำโปสเตอร์เป็นการบูรณาการความรู้ต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกัน เช่น เศรษฐศาสตร์จุลภาค การบริหารธุรกิจ การวางแผน การจัดการ การแบ่งงานกันทำ การจัดสรรทรัพยากร วัตถุดิบ บุคลากร และเวลาเพื่อใช้สำหรับการวางแผนงาน ก่อนที่จะนำเสนองานด้วยปากเปล่า กระบวนการทั้งหมดล้วนแล้วแต่สามารถประเมินจากผลการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอนได้ทั้งสิ้น
1) มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา ในการติดต่อสื่อสารในยุคของสังคมอิเล็กทรอนิกส์ ผู้สอนกำหนดให้มีการติดต่อกันผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นการแจ้งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการเรียนการสอน การนัดหมายพิเศษ การกำหนดวันรายงานผลการวิจัย ที่จำเป็นต้องมีการเตรียมประสานงานล่วงหน้า
2) มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ การนำเสนอและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจจากงานโปสเตอร์ รายงานกลุ่มละ 2 คน เพื่อให้นักศึกษาแบ่งงานกันทำ โดยให้ทุกคนมีตำแหน่งรับผิดชอบอย่างชัดเจน ได้แก่ หัวหน้ากลุ่ม เลขากลุ่ม ผู้ประสานงาน บรรณาธิกร และพิธีกร โดยจะทบทวนหน้าที่ของแต่ละหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน เพื่อทำให้การดำเนินงานของกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
3) มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสมการทำงานวิจัยกลุ่มเกิดจากการคิดประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจริง ผู้สอนจะกำหนดให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหา ด้วยการให้มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นต่อปัญหาของกลุ่ม บนพื้นฐานองค์ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ นำมาซึ่งตัวแปรสาเหตุของปัญหา เพื่อใช้เป็นตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์กำหนดตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ต่อไป
2) มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ การนำเสนอและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจจากงานโปสเตอร์ รายงานกลุ่มละ 2 คน เพื่อให้นักศึกษาแบ่งงานกันทำ โดยให้ทุกคนมีตำแหน่งรับผิดชอบอย่างชัดเจน ได้แก่ หัวหน้ากลุ่ม เลขากลุ่ม ผู้ประสานงาน บรรณาธิกร และพิธีกร โดยจะทบทวนหน้าที่ของแต่ละหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน เพื่อทำให้การดำเนินงานของกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
3) มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสมการทำงานวิจัยกลุ่มเกิดจากการคิดประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจริง ผู้สอนจะกำหนดให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหา ด้วยการให้มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นต่อปัญหาของกลุ่ม บนพื้นฐานองค์ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ นำมาซึ่งตัวแปรสาเหตุของปัญหา เพื่อใช้เป็นตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์กำหนดตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ต่อไป
1) การบรรยายในชั้นเรียน การถาม-ตอบ
2) การวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ การนำเสนออภิปรายกลุ่ม ตามระบบการสอนโดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
3) ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการศึกษาวิจัยในกรณีศึกษา
2) การวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ การนำเสนออภิปรายกลุ่ม ตามระบบการสอนโดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
3) ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการศึกษาวิจัยในกรณีศึกษา
1) การสอบภาคทฤษฎี รายผลและการนำเสนอการสืบค้นข้อมูลความรู้
2) พฤติกรรมการทำกิจกรรมระหว่างนักศึกษาในกลุ่ม
3) ผลงานของนักศึกษาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
2) พฤติกรรมการทำกิจกรรมระหว่างนักศึกษาในกลุ่ม
3) ผลงานของนักศึกษาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
1) สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
ในส่วนของภาคทฤษฎีในบทเรียนที่เน้นทักษะของการวิเคราะห์เชิงตัวเลข เช่น ดุลยภาพ และความยืดหยุ่น การคำนวณต้นทุน รายได้ และกำไร และการคำนวณหาจุดต้นทุนต่ำสุดและกำไรสูงสุด ด้วยการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน และสอดแทรกวิธีการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการคำนวณหาจุดเหมาะสมที่สุด
ในการทำโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ จะต้องใช้ความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เพื่อสร้างเป็นเอกสารรายงาน และใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศในการติดต่อประสานงาน ตลอดข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องอันจะนำไปสู่การสร้างงานรายงาน โดยเริ่มต้นจากประเด็นข่าวเศรษฐกิจ และการประยุกต์ใช้เข้ากันกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
2) สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
การนำเสนอรายงานโปสเตอร์จากประเด็นปัญหาข่าวเศรษฐกิจ จะเป็นสิ่งที่อธิบายความเข้าใจของนักศึกษา หรือผู้วิจัย แล้วสามารถถ่ายทอดอธิบายให้ผู้ฟังเข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยใช้ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การนำเสนอที่ดียังสามารถนำเสนอความคิดให้ผู้ฟังมองเห็นความสำคัญของปัญหา และสามารถสร้างแนวคิดในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจริงที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันได้
3) ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
ใช้ระบบการสอนแบบใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ด้วยการให้นักศึกษาสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหา เมื่อนักศึกษาค้นหาตัวแปรเหตุและตัวแปรผล แล้วสร้างเป็นตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อค้นหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุดจากการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจากคอมพิวเตอร์
นอกจากนี้ในการทำโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ ยังเน้นให้นักศึกษามีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดพิมพ์เอกสารให้อยู่ในรูปแบบงานนำเสนอ ตามโครงสร้างของงานนำเสนอ และถูกต้องตามหลักการพิมพ์เอกสาร ตลอดจนให้นักศึกษาสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีในการเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลสารสนเทศจากองค์กร หน่วยงาน หรือเว็บไซด์
ในส่วนของภาคทฤษฎีในบทเรียนที่เน้นทักษะของการวิเคราะห์เชิงตัวเลข เช่น ดุลยภาพ และความยืดหยุ่น การคำนวณต้นทุน รายได้ และกำไร และการคำนวณหาจุดต้นทุนต่ำสุดและกำไรสูงสุด ด้วยการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน และสอดแทรกวิธีการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการคำนวณหาจุดเหมาะสมที่สุด
ในการทำโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ จะต้องใช้ความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เพื่อสร้างเป็นเอกสารรายงาน และใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศในการติดต่อประสานงาน ตลอดข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องอันจะนำไปสู่การสร้างงานรายงาน โดยเริ่มต้นจากประเด็นข่าวเศรษฐกิจ และการประยุกต์ใช้เข้ากันกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
2) สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
การนำเสนอรายงานโปสเตอร์จากประเด็นปัญหาข่าวเศรษฐกิจ จะเป็นสิ่งที่อธิบายความเข้าใจของนักศึกษา หรือผู้วิจัย แล้วสามารถถ่ายทอดอธิบายให้ผู้ฟังเข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยใช้ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การนำเสนอที่ดียังสามารถนำเสนอความคิดให้ผู้ฟังมองเห็นความสำคัญของปัญหา และสามารถสร้างแนวคิดในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจริงที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันได้
3) ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
ใช้ระบบการสอนแบบใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ด้วยการให้นักศึกษาสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหา เมื่อนักศึกษาค้นหาตัวแปรเหตุและตัวแปรผล แล้วสร้างเป็นตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อค้นหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุดจากการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจากคอมพิวเตอร์
นอกจากนี้ในการทำโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ ยังเน้นให้นักศึกษามีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดพิมพ์เอกสารให้อยู่ในรูปแบบงานนำเสนอ ตามโครงสร้างของงานนำเสนอ และถูกต้องตามหลักการพิมพ์เอกสาร ตลอดจนให้นักศึกษาสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีในการเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลสารสนเทศจากองค์กร หน่วยงาน หรือเว็บไซด์
1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2) ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้
3) มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2) ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้
3) มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การอธิบายหลักการเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2) การสรุปและอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน
3) ผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4) การทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาค
2) การสรุปและอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน
3) ผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4) การทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาค
1) สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่รอให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม การให้นักผู้เรียนนำกรณีศึกษาจากข่าวเศรษฐกิจจำนวน 1 เรื่อง มาวิเคราะห์เชื่อมโยงจากองค์ความรู้เศรษฐศาสตร์จุลภาค ให้นักศึกษาค้นหาปัญหา ค้นหาสาเหตุของปัญหาจากข่าวเศรษฐกิจที่นำเสนอ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ทักษะในการสืบค้นข้อมูลจากหนังสือตำราเรียนทางเศรษฐศาสตร์ และสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือแม้แต่การค้นหาแหล่งข้อมูลวัตถุดิบ เพราะฉะนั้นจะเป็นการประมวลความรู้ของผู้เรียนจากห้องเรียนสู่การประกอบการจริง เพื่อนักศึกษาสามารถนำปัญหามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ทฤษฎีมาใช้ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในโลกของธุรกิจจริงได้
2) มีความกล้าคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน เมื่อนักศึกษารู้จักการเข้าถึงปัญหาจากสถานประกอบการจริง ประกอบกับการนำความรู้มาใช้กับปัญหาจากข่าวเศรษฐกิจที่นำมาวิเคราะห์ ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ที่ได้นั้นกับข่าวเศรษฐกิจโดยใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นยังทำให้ผู้เรียนเข้าใจความเป็นไปของปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศชาติ และโลก อันจะนำไปสู่นักศึกษาที่มีวิสัยทัศน์ในการเสพสื่อ สิ่งพิมพ์ ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตลอดจนปลูกฝังการเป็นคนรู้จักคิด คิดค้น แปลความหมาย ตีความอย่างเข้าใจ
2) มีความกล้าคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน เมื่อนักศึกษารู้จักการเข้าถึงปัญหาจากสถานประกอบการจริง ประกอบกับการนำความรู้มาใช้กับปัญหาจากข่าวเศรษฐกิจที่นำมาวิเคราะห์ ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ที่ได้นั้นกับข่าวเศรษฐกิจโดยใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นยังทำให้ผู้เรียนเข้าใจความเป็นไปของปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศชาติ และโลก อันจะนำไปสู่นักศึกษาที่มีวิสัยทัศน์ในการเสพสื่อ สิ่งพิมพ์ ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตลอดจนปลูกฝังการเป็นคนรู้จักคิด คิดค้น แปลความหมาย ตีความอย่างเข้าใจ
1) กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม การทำโปสเตอร์วิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ 1 เรื่อง จะมีสมาชิกกลุ่มละ 2 คน เพื่อให้นักศึกษารู้จักการทำงานเป็นทีม และมีการแบ่งงานกันทำตามความถนัด เสริมสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้นกับทีม การเตรียมการ การวางแผนการทำงาน การแบ่งงานกันทำ และการเขียนในเชิงวิชาการ จะเป็นการฝึกหัดให้นักศึกษาที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการเขียนบทความในเชิงวิชาการ ฝึกคิดบนพื้นฐานของตรรกะ (Logic) นำมาวิเคราะห์ค้นหาตัวแปรเหตุที่กำหนดตัวแปรผล แล้วสามารถสร้างเป็นตัวแบบทางตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ที่ใช้อธิบายพฤติกรรมทางเศรษฐศาสตร์ บนพื้นฐานองค์ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ ในการอธิบายสภาพความเป็นไปของข่าวเศรษฐกิจ การบริหารจัดการ การบัญชี และการตลาด
2) มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางแก้ไข การนำเสนอโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ โดยเริ่มต้นจากข่าวเศรษฐกิจในประเทศไทย ใกล้ตัวนักศึกษา จะทำให้นักศึกษารู้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงนอกเหนือจากการบอกเล่าจากในตำรา จะทำให้นักศึกษาก่อเกิดความคิดในการวิเคราะห์ปัญหา การเปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอและวิเคราะห์ข่าว จะเป็นเวทีที่ให้ผู้เรียนสามารถอภิปรายและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจได้อย่างมีหลักการทางเศรษฐศาสตร์
นอกจากนั้น การให้นักศึกษาได้มีโอกาสแสดงความคิดความเห็น ด้วยวิธีการนำเสนอผลการศึกการค้นคว้าจะเป็นการฝึกการพูดในที่สาธารณะ การพูดเชิงวิชาการ การจัดการนำเสนอ การใช้ภาษาในการนำเสนอ ฝึกการใช้ทักษะในการติดต่อประสานงานและการเตรียมการ ฝึกการสรุปความคิดและนำเสนอตามหลักเหตุและผล ฝึกการใช้สื่ออุปกรณ์นำเสนออย่างเหมาะสมกับข้อมูล เหมาะสมกับผู้ฟัง เหมาะสมกับโอกาสและระยะเวลา
3) เน้นถึงศาสตร์และศิลป์ รวมถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน และให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอผลงานจริง การนำเสนอและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ จากการที่ได้ศึกษาค้นคว้าจากทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ในการบริหารจัดการการนำเสนอ นักศึกษาต้องใช้ความสามารถ ทักษะที่หลากหลายทั้งศาสตร์และศิลป์ เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง เช่น การติดต่อประสานงานบุคคลสำคัญ อาจารย์ผู้เข้าร่วมฟัง จะใช้วิธีการนำเสนอที่หลากหลาย ทั้งจากภาพประกอบ ตัวอย่างจริง หรือแบบจำลอง เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ผู้ฟังการนำเสนอ การลำดับการนำเสนอ การโน้มน้าวความสนใจจากผู้ฟัง การแบ่งหน้าที่ในการนำเสนอ การจัดเตรียมสื่อสิ่งพิมพ์และอุปกรณ์ในการนำเสนอ ตลอดจนความสามารถในการแก้ปัญหา
2) มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางแก้ไข การนำเสนอโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ โดยเริ่มต้นจากข่าวเศรษฐกิจในประเทศไทย ใกล้ตัวนักศึกษา จะทำให้นักศึกษารู้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงนอกเหนือจากการบอกเล่าจากในตำรา จะทำให้นักศึกษาก่อเกิดความคิดในการวิเคราะห์ปัญหา การเปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอและวิเคราะห์ข่าว จะเป็นเวทีที่ให้ผู้เรียนสามารถอภิปรายและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจได้อย่างมีหลักการทางเศรษฐศาสตร์
นอกจากนั้น การให้นักศึกษาได้มีโอกาสแสดงความคิดความเห็น ด้วยวิธีการนำเสนอผลการศึกการค้นคว้าจะเป็นการฝึกการพูดในที่สาธารณะ การพูดเชิงวิชาการ การจัดการนำเสนอ การใช้ภาษาในการนำเสนอ ฝึกการใช้ทักษะในการติดต่อประสานงานและการเตรียมการ ฝึกการสรุปความคิดและนำเสนอตามหลักเหตุและผล ฝึกการใช้สื่ออุปกรณ์นำเสนออย่างเหมาะสมกับข้อมูล เหมาะสมกับผู้ฟัง เหมาะสมกับโอกาสและระยะเวลา
3) เน้นถึงศาสตร์และศิลป์ รวมถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน และให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอผลงานจริง การนำเสนอและวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ จากการที่ได้ศึกษาค้นคว้าจากทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ในการบริหารจัดการการนำเสนอ นักศึกษาต้องใช้ความสามารถ ทักษะที่หลากหลายทั้งศาสตร์และศิลป์ เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง เช่น การติดต่อประสานงานบุคคลสำคัญ อาจารย์ผู้เข้าร่วมฟัง จะใช้วิธีการนำเสนอที่หลากหลาย ทั้งจากภาพประกอบ ตัวอย่างจริง หรือแบบจำลอง เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ผู้ฟังการนำเสนอ การลำดับการนำเสนอ การโน้มน้าวความสนใจจากผู้ฟัง การแบ่งหน้าที่ในการนำเสนอ การจัดเตรียมสื่อสิ่งพิมพ์และอุปกรณ์ในการนำเสนอ ตลอดจนความสามารถในการแก้ปัญหา
1) ประเมินจากการนำเสนอข่าวเศรษฐกิจ รายงานการศึกษาค้นคว้า อภิปรายกรณีศึกษา เพื่อให้หาสาเหตุของปัญหาในกรณีศึกษาข่าวเศรษฐกิจ แล้วนำมาอธิบายเป็นตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์ และตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้อธิบายธุรกิจประเภทอื่นภายใต้ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคต่อไป
2) ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบในกรณีศึกษาของข่าวเศรษฐกิจอื่นที่มีปัญหาที่คล้ายคลึงกัน แล้วให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์ค้นหาตัวแปรสาเหตุของปัญหา สร้างตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้ในการพยากรณ์ต่อไป
3) ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา การทำโปสเตอร์เป็นการบูรณาการความรู้ต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกัน เช่น เศรษฐศาสตร์จุลภาค การบริหารธุรกิจ การวางแผน การจัดการ การแบ่งงานกันทำ การจัดสรรทรัพยากร วัตถุดิบ บุคลากร และเวลาเพื่อใช้สำหรับการวางแผนงาน ก่อนที่จะนำเสนองานด้วยปากเปล่า กระบวนการทั้งหมดล้วนแล้วแต่สามารถประเมินจากผลการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอนได้ทั้งสิ้น
2) ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบในกรณีศึกษาของข่าวเศรษฐกิจอื่นที่มีปัญหาที่คล้ายคลึงกัน แล้วให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์ค้นหาตัวแปรสาเหตุของปัญหา สร้างตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อใช้ในการพยากรณ์ต่อไป
3) ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา การทำโปสเตอร์เป็นการบูรณาการความรู้ต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกัน เช่น เศรษฐศาสตร์จุลภาค การบริหารธุรกิจ การวางแผน การจัดการ การแบ่งงานกันทำ การจัดสรรทรัพยากร วัตถุดิบ บุคลากร และเวลาเพื่อใช้สำหรับการวางแผนงาน ก่อนที่จะนำเสนองานด้วยปากเปล่า กระบวนการทั้งหมดล้วนแล้วแต่สามารถประเมินจากผลการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอนได้ทั้งสิ้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ | 3. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา | 4. ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1) มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สอนสอดแทรกความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ปลูกฝังความตรงต่อเวลาให้นักศึกษาเข้าเรียนให้ตรงเวลา และสอนให้นักศึกษารู้จักรับผิดชอบต่อทรัพยากร และสาธารณาประโยชน์ เช่น ไฟฟ้า น้ำประปา การทดสอบย่อยรายหน่วยของหน่วยที่เรียนจบแล้วในสัปดาห์ที่แล้วในช่วงต้นชั่วโมง เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา มีการรับ ส่งงานแต่ละขั้นตอนของงานตรงตามเวลาที่กำหนด ผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ | 2) มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม | 3) มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกัน | 4) มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์การและสังคม ให้นักศึกษารู้จักให้เกียรติสถาบัน ตนเอง และผู้สอนด้วยการแต่งกายให้ถูกระเบียบทุกครั้งที่เข้าชั้นเรียน การไม่ใช้เครื่องมือสื่อสารระหว่างมีการเรียนการสอนอันจะเป็นการทำลายสมาธิเพื่อนร่วมชั้นเรียน และเมื่อนักศึกษาคนใดต้องการติดต่อสื่อสาร รับโทรศัพท์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ ให้นักศึกษาสามารถขออนุญาตออกนอกห้องเรียนได้ เมื่อตั้งคำถามให้นักศึกษาตอบคำถามเป็นรายบุคคลตามความเข้าใจของตนเอง ในแต่ละหัวข้อย่อย แล้วจะทำการสังเกตว่านักศึกษาจะเปิดหนังสือหรือสมุดบันทึกดูหรือไม่ และให้นักศึกษาคนใดก็ได้อาสาเป็นผู้ตอบ แล้วจะทำการบันทึกมีนักศึกษาที่ตอบตามความเข้าใจของตนเองโดยไม่เปิดสมุดบันทึก เพื่อทดสอบความซื่อสัตย์ ผู้สอนจะกล่าวชมเชยนักศึกษาที่อาสาตอบคำถาม หรือตอบคำถามถูกต้อง | 5) มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดีและความชั่ว สอนสอดแทรกจิตสำนึกให้รู้จักผิดชอบชั่วดี ให้มีมโนธรรมด้วยการหลีกเลี่ยงการมีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี สอนให้รู้จักวางเป้าหมายในชีวิต เพื่อให้อยากพยายามทำความดี พยายามตั้งใจเรียน ด้วยการเล่าประสบการณ์ผู้ที่ประสบความสำเร็จในชีวิต เช่น ศิษย์เก่า หรือรุ่นพี่ที่สำเร็จการศึกษา | 1) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้านบริหารธุรกิจ ทีครอบคลุมทั้งการบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนมีความรู้ในเศรษฐศาสตร์จุลภาค หน่วยเศรษฐกิจในระบบเศรษฐกิจ กลไกและแนวคิดของทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค อุปสงค์ อุปทาน ภาวะดุลยภาพ ความยืดหยุ่น การแทรกแซงราคาของรัฐบาล ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต ตลอดจนมีความรู้ในอุตสาหกรรมที่อยู่ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ | 2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน เมื่อผู้เรียนมีความรู้ในเศรษฐศาสตร์จุลภาคแล้ว สามารถวิเคราะห์ อธิบายสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันโดยใช้ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค สามารถเสนอแนะแนวความคิดในมุมมองของผู้เรียนเป็นประโยชน์ในการวางแผนธุรกิจได้ | 3) มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแปนงาน การเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ เพื่อเป็นกรณีศึกษาที่ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้กับปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ ด้วยการวิเคราะห์เข้ากับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ | 4) มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหาสภาวะเศรษฐกิจ สาเหตุของปัญหาเศรษฐกิจ อธิบายเป็นตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์ กำหนดตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ แล้วนำตัวแบบมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจจริง ผู้เรียนรวบรวมความรู้นอกเหนือจากบทเรียนด้วยการค้นคว้าข่าวเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจที่เป็นประเด็นที่น่าสนใจ จากสื่อออนไลน์ หรือข่าวเศรษฐกิจ เศรษฐกิจการเกษตร สินค้าอุตสาหกรรม และบริการ อธิบายสรุปใส่โปสเตอร์ขนาด A3 โดยมีเนื้อหารายละเอียดที่ประกอบด้วย ข่าวเศรษฐกิจ อภิปรายและวิเคราะห์ สังเคราะห์ ว่าข่าวที่นำมานั้นเกี่ยวข้องกับทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ใด แล้วเชื่อมโยงเข้าสู่ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคในหน่วยเรียนที่เกี่ยวข้อง แสดงรูปกราฟที่เกี่ยวข้อง สรุปข่าว แล้วแสดงที่มาของข่าวด้วยบรรณานุกรม | 1) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ๆ | 2) สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม การให้นักผู้เรียนนำกรณีศึกษาจากข่าวเศรษฐกิจจำนวน 1 เรื่อง มาวิเคราะห์เชื่อมโยงจากองค์ความรู้เศรษฐศาสตร์จุลภาค ค้นหาปัญหา ค้นหาสาเหตุของปัญหาจากข่าวเศรษฐกิจที่นำเสนอ แล้วอธิบายเชื่อมโยงกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ซึ่งจำเป็นต้องใช้ทักษะในการสืบค้นข้อมูลจากหนังสือตำราเรียนทางเศรษฐศาสตร์ และสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อออนไลน์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือแม้แต่การค้นหาแหล่งข้อมูลวัตถุดิบ สามารถนำปัญหามาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ทฤษฎีมาใช้ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในโลกของธุรกิจจริงได้ | 4) มีความกล้าคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน เมื่อนักศึกษารู้จักการเข้าถึงปัญหาจากสถานประกอบการจริง ประกอบกับการนำความรู้มาใช้กับปัญหาจากข่าวเศรษฐกิจที่นำมาวิเคราะห์ ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ที่ได้นั้นกับข่าวเศรษฐกิจโดยใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นยังทำให้ผู้เรียนเข้าใจความเป็นไปของปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศชาติ และโลก อันจะนำไปสู่นักศึกษาที่มีวิสัยทัศน์ในการเสพสื่อ สิ่งพิมพ์ ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตลอดจนปลูกฝังการเป็นคนรู้จักคิด คิดค้น แปลความหมาย ตีความอย่างเข้าใจ | 1) กิจกรรมการวิเคราะห์ข่าวเศรษฐกิจ ต้องใช้ความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา | 2) การจัดทำงานนำเสนอโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจกลุ่มละ 2 คน เพื่่อให้นักศึกษาแบ่งงานกันทำ แสดงมีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม ทุกคนมีตำแหน่งรับผิดชอบอย่างชัดเจน มีการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการเป็นผู้นำที่่มีความรับผิดชอบ | 3) มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม การทำงานวิจัยกลุ่มเกิดจากการคิดประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจริง ผู้สอนจะกำหนดให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหา ด้วยการให้มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นต่อปัญหาของกลุ่ม บนพื้นฐานองค์ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ นำมาซึ่งตัวแปรสาเหตุของปัญหา เพื่อใช้เป็นตัวแปรทางเศรษฐศาสตร์กำหนดตัวแบบทางเศรษฐศาสตร์ต่อไป | 4) มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ | 1) สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ | 2) สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 3) สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน ในส่วนของภาคทฤษฎีในบทเรียนที่เน้นทักษะของการวิเคราะห์เชิงตัวเลข เช่น ดุลยภาพ และความยืดหยุ่น การคำนวณต้นทุน รายได้ และกำไร และการคำนวณหาจุดต้นทุนต่ำสุดและกำไรสูงสุด ด้วยการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน และสอดแทรกวิธีการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการคำนวณหาจุดเหมาะสมที่สุด ในการทำโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ จะต้องใช้ความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน เพื่อสร้างเป็นเอกสารรายงาน และใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศในการติดต่อประสานงาน ตลอดข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องอันจะนำไปสู่การสร้างงานรายงาน โดยเริ่มต้นจากประเด็นข่าวเศรษฐกิจ และการประยุกต์ใช้เข้ากันกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ | 4) ความสามารถในการอธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้อง ทั้้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา การนำเสนอรายงานโปสเตอร์จากประเด็นปัญหาข่าวเศรษฐกิจ จะเป็นสิ่งที่อธิบายความเข้าใจของนักศึกษา หรือผู้วิจัย แล้วสามารถถ่ายทอดอธิบายให้ผู้ฟังเข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยใช้ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การนำเสนอที่ดียังสามารถนำเสนอความคิดให้ผู้ฟังมองเห็นความสำคัญของปัญหา และสามารถสร้างแนวคิดในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจริงที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันได้ | 5) สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพน่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อ เทคนิควิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวคิดที่หลากหลาย | 6) ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี การนำเสนอรายงานโปสเตอร์จากประเด็นปัญหาข่าวเศรษฐกิจ จะเป็นสิ่งที่อธิบายความเข้าใจของนักศึกษา หรือผู้วิจัย แล้วสามารถถ่ายทอดอธิบายให้ผู้ฟังเข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยใช้ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคได้อย่างถูกต้องเหมาะสม การนำเสนอที่ดียังสามารถนำเสนอความคิดให้ผู้ฟังมองเห็นความสำคัญของปัญหา และสามารถสร้างแนวคิดในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจริงที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันได้ การทำโปสเตอร์ข่าวเศรษฐกิจ ยังเน้นให้นักศึกษามีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดพิมพ์เอกสารให้อยู่ในรูปแบบงานนำเสนอ ตามโครงสร้างของงานนำเสนอ และถูกต้องตามหลักการพิมพ์เอกสาร ตลอดจนให้นักศึกษาสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีในการเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลสารสนเทศจากองค์กร หน่วยงาน หรือเว็บไซด์ | 7) ความสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน |
1 | 10002201 | เศรษฐศาสตร์จุลภาค |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | คุณธรรมจริยธรรม 1) มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2) มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์การและสังคม 3) มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดีและความชั่ว | 1) ประเมินจากเวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาและเวลาการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย บันทึกสถิตินักศึกษาเข้าชั้นเรียน บันทึกอากัปกิริยานักศึกษาที่แสดงถึงความทุจริตในการทดสอบ และบันทึกสถิติการส่งงาน 2) ประเมินจากผลงานโปสเตอร์เป็นรายกลุ่ม และสังเกตการร่วมงานของนักศึกษาในการแบ่งงานกันทำ 3) ประเมินจากการเคารพต่อกฎ เช่น กำหนดส่งงานล่วงหน้า ส่งแบบฝึกหัดในวันก่อนวันเรียนหนึ่งวันในสัปดาห์ถัดไป | สัปดาห์ที่ 2-17 | 10% |
2 | ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1) มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรยีนด้านบริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 2) มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญที่เกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน 3) มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน | 1) การทดสอบย่อย 2) การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน | ทดสอบย่อยสัปดาห์ที่ 2-16 สอบกลางภาคและปลายภาค สัปดาห์ที่ 8, 17 | 50% |
3 | 1) สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเหมาะสม 2) มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ | กิจกรรมการสืบค้นข้อมูลข่าวเศรษฐกิจเพื่อนำเสนอเป็นโปสเตอร์ การศึกษาหาบทความข่าวเศรษฐกิจจากสื่อออนไลน์ หรือออฟไลน์ แล้วให้นักศึกษาจำแนกจัดกลุ่มว่า ข่าวเศรษฐกิจดังกล่าวเกี่ยวข้องกับทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ทฤษฎีใด การทำงานเป็นกลุ่มจำเป็นต้องมีการแก้ปัญหาการทำงานเป็นทีม การแบ่งงานตามความถนัด เสริมสร้างความสามัคคีในทีม การเตรียมการ การวางแผนการทำงาน ตลอดจนการสังเคราะห์ความรู้และเขียนรายงานในเชิงวิชาการ | สัปดาห์ที่ 16 | 20% |
4 | 1) มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา 2) มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน 3) มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม | 1) การทำผลงานนำเสนอโปสเตอร์ ในแต่ละขั้นตอนจำเป็นต้องมีการประสานงานทั้งกับเพื่อนร่วมกลุ่ม ผู้ให้ข้อมูล หรือผู้เกี่ยวข้อง ประเมินผลสำเร็จจากความสามารถในการส่งงานแต่ละขั้นตอนได้ตรงเวลา 2) ประสิทธิภาพของผลงานนำเสนอโปสเตอร์จะสะท้อนความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม และคุณสมบัติอื่นๆ ของการทำงานร่วมกัน 3) การสังเกตความกระตือรือร้นระหว่างการปฏิบัติงานกลุ่ม การนำเสนองานแต่ละขั้นตอน การตั้งคำถาม และประสิทธิภาพของงานโปสเตอร์ รวมถึงการสังเกตระหว่างการปฏิบัติงานถึงการทำงานร่วมกัน การยอมรับฟังความคิดเห็น การมีความคิดเห็นหลากหลายจากสมาชิกในกลุ่ม ทำให้เกิดการสังเคราะห์ที่ถูกต้องชัดเจนตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค | สัปดาห์ที่ 6, 13 และ 16 | 10% |
5 | ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน 2) สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา 3) ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี | 1) ประเมินความสามารถในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีจากการใช้เทคนิคในการจัดตกแต่งโปสเตอร์ และจำนวนแหล่งข้อมูลที่เหมาะสมเชื่อถือได้ 2) ประเมินความสามารถในการสื่อสารอธิบายและสร้างความเข้าใจจากการวิธีเลือกสื่อนำเสนอ และรูปแบบการเขียนรายงาน เช่น กราฟ รูปภาพ สถิติ ตลอดจนวิธีการพูดที่สามารถสื่อสารให้ผู้ฟังเข้าใจ 3) ประเมินจากความหลากหลายของเทคโนโลยีที่ใช้เป็นเครื่องมือในการนำเสนอ | สัปดาห์ที่ 15-16 | 10% |
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิชย์ 2555.
สมพร อรพินท์. เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แมค กรอ-ฮิลล์ อินเตอร์เนชั่นแนล, 2549.
ปรีดา นาเนาวทิม. เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2550.
พรพิมล สันติมณีรัตน์. เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.
Steven E. Lansburg. Price Theory. United States: University of Rochester, 2008.
สมพร อรพินท์. เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แมค กรอ-ฮิลล์ อินเตอร์เนชั่นแนล, 2549.
ปรีดา นาเนาวทิม. เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2550.
พรพิมล สันติมณีรัตน์. เศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.
Steven E. Lansburg. Price Theory. United States: University of Rochester, 2008.
ธิติมา พลับพลึง. เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1: เอกสารประกอบการสอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ บพิตรพิมุข จักรวรรดิ์. 2542.
http://e-book.ram.edu/e-book/inside/html/dlbook.asp?code=ec111
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวความคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่อาจารย์ผู้สอนใช้เป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่อาจารย์ผู้สอนใช้เป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม