หลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม

Principles of Engineering Mechanics

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในหลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งในการทำงาน และการเรียนวิชาที่สูงขึ้นไปในอนาคต รวมถึงให้เกิดการฝึกมุงมองแบบวิศวกร ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
                    ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของกลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง ระบบแรง สมดุลสถิต แรงเสียดทาน แรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล เคเนเมติกส์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง เคเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็งโดยใช้กฎของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนตัม บทนำสู่การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต
-    อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งเวลาให้คำปรึกษา
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางต่างๆ ต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึง เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพ
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
ผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1.3.1   การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.2   พิจารณาจากการทำงานในระหว่างเรียน
1.3.3   การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
2.2.1.1 มีความรูและความเขาใจทางคณิตศาสตรพื้นฐาน วิทยาศาสตรพื้นฐาน วิศวกรรม พื้นฐาน และเศรษฐศาสตร เพื่อการประยุกตใชกับงานทางดานวิศวกรรมศาสตรที่เกี่ยวของ และการสราง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.2.1.2 มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการที่สําคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ใน
เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะดานทางวิศวกรรม
2.2.1.3 สามารถบูรณาการความรูในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 2.2.1.4 สามารถวิเคราะหและแกไขปญหา ดวยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกตใช
เครื่องมือที่เหมาะสม เชน โปรแกรมคอมพิวเตอร เปนตน
2.2.1.5 สามารถใชความรูและทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกตแกไขปญหาในงาน
จริงได
บรรยาย อภิปราย พร้อมยกตัวอย่างลักษณะของงานที่เกี่ยวข้อง
2.3.1   คะแนนแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
2.3.2   คะแนนจากงานที่มอบหมายประจำสัปดาห์
3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและอย่างเป็นระบบ
  3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
  3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหารได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
  3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์เป็นรายบุคคล และงานกลุ่ม ตามหัวข้อต่างๆ
สังเกตุและประเมินจากผลงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้ทำและนำมาส่ง โดยพิจารณาความตรงต่อเวลาในการส่งงาน ความถูกต้องของงาน
2.4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุมคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาตางประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถใชความรูในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารตอสังคมไดในประเด็น ที่เหมาะสม
2.4.1.2 สามารถเปนผูริเริ่มแสดงประเด็นในการแกไขสถานการณเชิงสรางสรรคทั้งสวนตัว และสวนรวม พรอมทั้งแสดงจุดยืนอยางพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุม รวมทั้งใหความชวยเหลือและ อํานวยความสะดวกในการแกไขปญหาสถานการณตาง ๆ
2.4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรูทั้งของตนเอง และ
สอดคลองกับทางวิชาชีพอยางตอเนื่อง
2.4.1.4 รูจักบทบาท หนาที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงาน บุคคลและงานกลุม สามารถปรับตัวและทํางานรวมกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนําและผูตามไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวไดอยางเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
2.4.1.5 มีจิตสํานึกความรับผิดชอบดานความปลอดภัยในการทํางาน และการรักษา
สภาพแวดลอมตอสังคม
4.2.1   ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.2.2   มอบหมายงานรายบุคคล 
4.3.1   ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.2   ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ตลอดจนทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
 5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการ แก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
 5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
 5.1.5 สามารถนำเสนอผลงานโดยใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการในวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม  
5.2.1  ทำการสอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบมาใช้เป็นสื่อในการเรียนการสอน
5.2.2  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน E-Learning จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำมาใช้ในการเขียนแบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ
5.3.1   ประเมินจากพฤติกรรมและวิธีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ
5.3.2   ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
6.1.1 มีทักษะวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพที่สถานประกอบการต้องการ
6.1.2 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อพัฒนาต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
6.1.3 มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพของตนเอง
6.2.1  ทำการสอนโดยเน้นการฝึกถอดแบบและเขียนแบบจากชิ้นงานจริง โดยอ้างอิงการเขียนให้ตรงตามมาตรฐาน  
6.2.2  มอบหมายงานให้นักศึกษาทำในระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์
    6.3.1  ประเมินผลจากคะแนนงานที่ได้รับมอบหมายในระหว่างเรียนและงานประจำสัปดาห์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 1 3 3
1 ENGCC502 หลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ สอบกลางภาค และ ปลายภาค 9 และ 17 90
2 คุณธรรมจริยธรรม การส่งงานตามที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ 5
3 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ การส่งงานตามที่มอบหมาย/การสอบกลางภาคและปลายภาค ทุกสัปดาห์ 5
 Meriam, J.L. and Kraige, L.G. Engineering Mechanics STATICS. 7th ed., Wiley.
Meriam, J.L. and Kraige, L.G. Engineering Mechanics DYNAMICS. 7th ed., Wiley.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
จากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยทำการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ