นวัตกรรมและเทคโนโลยี

Innovation and Technology

1.1 เข้าใจการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิวัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.2 เข้าใจกระบวนการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี 1.3 สามารถสังเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม นวัตกรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม 1.4 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.5 สามารถประเมินค่าประเด็นร่วมสมัยในด้านวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่ออนาคต 1.6 สามารถการออกแบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาได้
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิวัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ สังคม นวัตกรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ประเด็นร่วมสมัยในด้านวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่ออนาคต  ฝึกออกแบบนวัตกรรม Study changes in society and evolution of science and technology; process of creating innovation, technology, and environment; impacts of innovation and technology on society and environment; contemporary issues in sciences, innovation and future technology; practice in designing innovations.
ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลนอกชั้นเรียนโดยการสื่อสาร-นัดหมายล่วงหน้าผ่านทาง e-mail หรือสื่อสังคมออนไลน์
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1) Team Based Learning 2) Collaborative Team Learning
การแสดงออกและการมีส่วนร่วมภายในชั้นเรียน
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3) มีสามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) Team Based Learning 2) Jigsaw Teaching 3) Brainstorming 4) Collaborative Team Learning
1) กรณีศึกษา 2) การนำเสนอผลงาน 3) การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4) โครงงาน
1) มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1) Team Based Learning 2) Brainstorming 3) Collaborative Team Learning
1) กรณีศึกษา 2) การนำเสนอผลงาน 3) การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4) โครงงาน
1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1) Team Based Learning 2) Collaborative Team Learning
1) กรณีศึกษา 2) การนำเสนอผลงาน 3) การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4) โครงงาน
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) Team Based Learning 2) Jigsaw Teaching 3) Brainstorming 4) Collaborative Team Learning
1) กรณีศึกษา 2) การนำเสนอผลงาน 3) การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4) โครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 มีสามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 GEBIN102 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 การเข้าชั้นเรียน ความซื่อสัตย์ต่อการเรียน การส่งรายงานตรงเวลา ความรับผิดชอบในงานที่รับมอบหมาย 1 - 18 10%
2 2.2, 3.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1 – 17 5%
3 1.2, 2.2, 3.2, 5.2 รายงานตามกรณีศึกษา 18 10%
4 2.2, 3.2, 4.3, 5.2 การนำเสนองาน/ความก้าวหน้าของงานที่ได้รับมอบหมาย 1 – 17 25%
5 3.2, 4.3, 5.2 โครงงาน/นิทรรศการ 17 15%
6 3.2, 5.2 ผลงานนวัตกรรม 10 – 17 15%
7 1.2 การสอบกลางภาค 9 20%
หริพล ธรรมนารักษ์และคณะ. เอกสารประกอบการเรียนการสอน, สไลด์ประกอบการสอนแต่ละหน่วยเรียน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน/การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนตัวอย่างจากกรณีศึกษา
ภาษาไทย
กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2549). เทคโนโลยีการศึกษาวิชาชีพ. กรุงเทพ ฯ : สินทวี.
ภคมนวรรณ ขุนพิณี. การคิดเชิงระบบ” (Systems Thinking) สืบค้นคืนวันที่ 8 กรกฎาคม 2560 จากเว็บไซต์ https://www.gotoknow.org/posts/545244
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสาน. “หน่วยที่ 1 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”. รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ (บทเรียนออนไลน์) สืบค้นจาก http://cw.rmuti.ac.th/source/science/science_01_1.swf เมื่อ 20 มีนาคม 2557
วิกรณ์ รักษ์ปวงชน.  (2550).  การติดอาวุธสมอง การพัฒนาระบบคิด” ใน ติดอาวุธนักบริหาร. กรุงเทพ ฯ : บริษัทพิมพ์ดี.
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ.  (2555). นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555 – 2564).
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ.  (2556). ดัชนีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทย ปี 2555. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: พรินท์ ซิตี้ จำกัด.
สุนทร โคตรบรรเทา.(2551). หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: ดิสทริบิวเตอร์.
เสริมพล รัตสุข. (2526). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ: ครีเอตีฟพริ๊นท์.
ภาษาอังกฤษ
Bellanca, James and Brandt, Ron (eds). (2010). 21st century skills : Rethinking How Students Learn. Bloomington, IN : Solution Tree Press.
Bertalanffy, L. Von. (1968). General System Theory. New York : Braziller.
Checklean, Peter. (1982). Systems Thinking, Systems Practice. New York: John Wiley & sons.
Katz, Ralph. 2003. The Human Side of Managing Technological Innovation A Collection of Readings. 2nd Ed. Oxford : Oxford University Press.
Rothwell, Roy and Zegveld, Walter. (1982). Innovation and the Small and Medium Sized Firm. University of Illinois at Urbana-Champaign's Academy for Entrepreneurial Leadership Historical Research Reference in Entrepreneurship. Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=1496714
Sundbo, Jon. (1998). The Theory of Innovation: Entrepreneurs, Technology and Strategy. Cheltenham, Glos, UK : Edward Elgar Publishing Limited.
นักศึกษาทุกคนประเมินการประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - การสะท้อนการคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้ - การแลกเปลี่ยนสังเกตการณ์การสอน - ระดับผลการเรียนของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  
การปรับปรุงการสอน  กระทำทุกปีการศึกษา  โดยพิจารณาจากผลการประเมินรายวิชาโดยผู้เรียนและผลประเมินการสอนและปัจจัยอื่นๆ รายวิชามีการปรับปรุงการสอน โดยพิจารณาจากปัจจัยดังนี้ - ผลประเมินรายวิชาจากผู้เรียน - ผลประเมินการสอนจากการสอบถามความสนใจในห้องเรียน - ประเด็นปัจจุบันหรือหัวข้อที่คัดสรรตามความสนใจ
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา อาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกกระบวนการเรียนการสอน  ทวนสอบทั้งกระบวนการ ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ ได้ดำเนินการทุกครั้งดังนี้ - ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน ได้แก่ การเข้าเรียนและการสังเกตพฤติกรรมโดยผู้สอน - การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้สอนที่รับผิดชอบรายวิชา
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา  ดำเนินการทุกปีการศึกษา โดยประมวลจากกระบวนการและผลลัพธ์ ดังนี้ - การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอนดำเนินการทุกปีการศึกษา โดยเฉพาะการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - การทบทวน และวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และการประกันคุณภาพของหลักสูตรวิชาฯ คณะ ฯ และมหาวิทยาลัย