สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

Environment and Development

1.1.1 เข้าใจความรู้พื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากร  1.2.2 เข้าใจหลักนิเวศวิทยาและสมดุลธรรมชาติ  1.3.3 เข้าใจทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ มลพิษสิ่งแวดล้อม และการกำจัดมลสารทางวิทยาศาสตร์  1.4.4 เข้าใจการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และการบริหารการจัดการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน  1.5.5 มีเจตคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม 
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการเรียนในวิชาชีพต่อไป
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ปัจจัยที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน แนวทางการใช้ทรัพยากรและการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ  Natural Resources and environment, relationship of human and environment, factor that effect environment, current environment problems, use of natural resources sustainable environmental conservation based on science, innovation and modern technology , as well as moral and ethics.
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 1 ชั่วโมง  3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.00 น. ห้องพักอาจารย์แผนกวิทยาศาสตร์ (เคมี) อาคารศึกษาทั่วไป โทร 0-5392-1444 ต่อ 2830
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  ˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  ˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา สอบข้อเขียน นำเสนอในชั้นเรียน ผลการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา การทำงานร่วมกับผู้อื่น
.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  แก้ไข
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 
การสอนแบบ Problem Based Learning  แก้ไข
สอบย่อย สอบข้อเขียนกลางภาค สอบข้อเขียนปลายภาค งานที่มอบหมายและนำเสนอเป็นกลุ่ม รายงาน ผลงานที่นำเสนอ 
ข้อเสนอความคิดของนักศึกษา
.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  ˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  แก้ไข
 
การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) 
การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ
ทดสอบย่อย วิเคราะห์แนวคิดทางวิชาการ ประเมินระบบการทำแบบฝึกหัดและการนำเสนอ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  ˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  ˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  แก้ไข
ช้ Power point  มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล  การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
สังเกตพฤติกรรมจากการใช้เครื่องมือสื่อสาร จากการมอบหมายงานและให้ส่งงาน สังเกตจากการตอบหรือการส่งงานที่ต้องใช้การเขียนตอบ  แก้ไข
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  ˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง  เหมาะสม  ˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แก้ไข
 
ใช้ Power point  มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล  การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
สังเกตพฤติกรรมจากการใช้เครื่องมือสื่อสาร จากการมอบหมายงานและให้ส่งงาน สังเกตจากการตอบหรือการส่งงานที่ต้องใช้การเขียนตอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2.ความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 6. ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่นวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 GEBSC106 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 2.2, 2.3, 3.2, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 1.1, 1.3, 2.2, 2.3, 3.2, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 1.1, 1.3, 2.2, 2.3, 3.2 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 1-15 20%
4 การทดสอบย่อย 4 ครั้ง การสอบกลางภาค 9 25%
5 1.1, 1.3, 2.2, 2.3, 3.2, 4.4, 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 13-14 20%
6 1.1, 1.3, 2.2, 2.3, 3.2 การสอบปลายภาค 17 25%
คณาจารย์. 2560.สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา. แผนกวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาภาคพายัพ เชียงใหม่  แก้ไข
 
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
: แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร 
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป