โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม

Data Structure and Algorithm

มีความรู้ความเข้าใจในโครงสร้างข้อมูล เข้าใจรูปแบบ อัลกอรึทึมพื้นฐาน เทคนิคการเรียงลำดับข้อมูล มีทักษะในการนำความรู้ในโครงสร้างข้อมูลมาทำการพัฒนาอัลกอรึทึม  และสามารถวิเคราะห์อัลกอรึทึมอย่างง่าย ๆ และเขียนโปรแกรมเพื่อจัดการกับโครงสร้างแบบต่าง ๆ
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านระบบสารสนเทศของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ศึกษารูปแบบของโครงสร้างข้อมูล อาร์เรย์ สแตก คิว ลิงลิสท์ ไบนารีทรี และอัลกอรึทึมพื้นฐานที่ใช้กับโครงสร้างข้อมูล เทคนิคการเรียงลำดับข้อมูลในหน่วยความจำหลักแบบต่าง ๆ การพัฒนาอัลกอรึทึมและการวิเคราะห์อัลกอรึทึมอย่างง่าย การเขียนโปรแกรมเพื่อจัดการกับโครงสร้างแบบต่าง ๆ
1
พัฒนาผู้เรียนให้เข้าใจความสำคัญในการศึกษาพื้นฐานของข้อมูลสามารถวิเคราะห์และพัฒนอัลกอรึทึมในการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้ในองค์กรธุรกิจ มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบ มีวินัย
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างรูปแบบและอัลกอรึทึมในการเขียนโปรแกรมที่ใช้ในธุรกิจแบบต่าง ๆ กำหนดให้นักศึกษาทำงานโดยฝึกปฏิบัติในการวิเคราะห์อัลกอรึทึมและเขียนโปรแกรมพื้นฐาน อภิปรายผลงาน
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา การนำเสนอและอภิปราย ประเมินผลการวิเคราะห์และพัฒนาโปรแกรม
           มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบของโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ มีความรู้ในด้านอัลกอรึทึมพื้นฐานใช้กับโครงสร้างข้อมูล และเทคนิคการเรียงลำดับข้อมูลในหน่วยความจำหลักแบบต่าง ๆ สามารถพัฒนาอัลกอรึทึมอย่างง่าย สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อจัดการกับโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในการพัฒนาอัลกอรึทึมที่ใช้กับโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ
2.1.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบ
2.1.2 นำเสนอผลงาน   
มีวิจารณญาณในการวิเคราะห์อัลกอรึทึมอย่างเป็นระบบและถูกต้องสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้เทคนิคของโครงสร้างข้อมูลแบบต่าง ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ให้เหมาะสมกับการทำงานในองค์กรธุรกิจ
บรรยายให้แบบฝึกหัด
นำเสนอผลงานจากแบบฝึกหัดและการอภิปรายในชิ้นงาน
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนในองค์กรในหน่วยงานสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อนำเทคนิคโครงสร้างข้อมูลไปประยุกต์ให้ตรงกับบุคคลที่จะต้องใช้ภายในองค์กร มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเอง
กำหนดให้นักศึกษาทำงานโดยฝึกปฏิบัติงานการเขียนโปรแกรมโดยใช้อัลกอริทึมแบบต่างๆ
นำเสนอผลงานของแบบฝึกหัด และตอบข้อซักถามของอาจารย์
สามารถวิเคราะห์ประสิทธิภาพของอัลกอรึทึมได้อย่างถูกต้อง ประยุกต์โครงสร้างข้อมูลกับการเขียนโปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการเขียนและปากเปล่า ใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม ใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอและสารสนเทศที่ถูกต้อง
กำหนดให้นักศึกษาทำงาน โดยกำหนดรูปแบบงานที่ให้นักศึกษาสามารถเพื่อใช้อัลกอรึทึมและโครงสร้างได้หลากหลายรูปแบบ นำเสนอผลงาน จัดส่งผลงาน
1 นำเสนอผลงานที่ทำงาน และตอบข้อซักถามของอาจารย์

ตรวจรายงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.6 2.1, 2.2, 2.3, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8 3.1, 3.3, 3.4 4.4, 4.6 แบบฝึกหัด -Introduction -Array -String การประยุกต์ Stack การประยุกต์ Queue การประยุกต์ Link-List การประยุกต์ Recursive 1-7 ร้อยละ 10
2 5.1, 5.2, 5.3, 5.4 การอภิปรายด้วยวาจาในเรื่อง Array, Queue, Linked-List, Stack 3-6 ร้อยละ 5
3 2.1, 2.2, 2.5, 2.7 3.1, 3.4 สอบกลางภาค 8 ร้อยละ 30
4 1.2, 1.6 2.1, 2.2, 2.3, 2.5, 2.6, 2.7, 2.8 3.1, 3.3, 3.4 4.4, 4.6 แบบฝึกหัดเรื่อง -Tree -กราฟ -Sorting -Searching 9-15 ร้อยละ 10
5 5.1, 5.2, 5.3, 5.4 การอภิปราย/เปรียบเทียบอัลกอรึทึมด้านต่างๆ ด้วยการนำเสนอแต่ละบุคคลในเรื่อง Sort, Searching 12-13 ร้อยละ 5
6 2.1, 2.2, 2.5, 2.7 3.1, 3.4 สอบปลายภาคา 17 ร้อยละ 30
ทรงลักษณ์ พิริยะไพโรจน์, สุมมา เกษมสวัสดิ์. เรียนลัด Data Structure ด้วย Visual Basic. บริษัทโปรวิชั่น จำกัด, 2544.

โกศิลวัฒน์. โครงสร้างข้อมูลและอัลกอรึทึม. สำนักพิมพ์ ม.รามคำแหง, 2538.

ดร.สุชาย ธนวเสถียร,วิชัย จิวังกูร. โครงสร้างข้อมูลเพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์.บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2547.
โอภาส เอี่ยมสิริวงค์. โครงสร้างข้อมูลเพื่อการออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์.
บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549
โปรแกรมภาษาปาสคาล
โปรแกรมภาษาซี
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้

1.3 การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
1.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
1.2 การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือ  ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบในผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4