การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่

Field Crops Seed Production

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 เข้าใจความสำคัญและสถานการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่เศรษฐกิจ
1.2 เข้าใจถึงวิธีการสร้างและการพัฒนาของเมล็ดพันธุ์
1.3 เข้าใจขั้นตอน หลักการผลิตเมล็ดพันธุ์ ระยะห่างในการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่
1.4 เข้าใจการผลิตเมล็ดพันธุ์ตระกูลธัญพืช ถั่ว พืชเส้นใย ละหุ่ง ทานตะวัน ฯลฯ
1.5 เข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐานและการรับรองเมล็ดพันธุ์ และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและสถานการณ์การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่ การสร้างและการพัฒนาของเมล็ดพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์และขั้นตอนการผลิตเมล็ดพันธุ์ หลักการและระยะห่างในการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่ การผลิตเมล็ดพันธุ์พืช ธัญพืช ถั่ว พืชเส้นใย ละหุ่ง ทานตะวัน ฯลฯ การควบคุมคุณภาพของเมล็ด พันธุ์ตามมาตรฐานและการรับรองเมล็ดพันธุ์ และพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือ โทรศัพท์ 081-792-0315
3.2 e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th หรือ k_rujiphot@gmail.com ช่วงเวลา 20.00 –24.00 น. ทุกวัน
šมีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การสอนแบบ Brain Storming Group
- การสังเกต
- แบบทดสอบ
˜ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายประกอบสื่อภาพเคลื่อนไหว
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
- การสังเกต
- งานมอบหมายและรายงาน
- ข้อสอบอัตนัยและ/หรือปรนัย
˜ มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
- การสังเกต
- งานมอบหมาย/รายงาน
- ข้อสอบอัตนัยและ/หรือปรนัย
š มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
- การสังเกต
- งานมอบหมาย
- การประเมินโดยเพื่อน
˜ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜ สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
- การนำเสนองานด้วยวิธีรายงาน / วาจา หรือ Power point
- การสังเกต
- งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
- การนำเสนองานมอบหมาย
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1  ผู้เรียนมีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  ผู้เรียนมีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  ผู้เรียนมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  ผู้เรียนเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. การสังเกต 2. การตรงต่อเวลา 3. งานมอบหมาย สัปดาห์ที่ 5-14 - จิตพิสัย 10% - การทดสอบย่อย 20%
2  ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  ผู้เรียนสามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1. การสังเกต 2. การตรงต่อเวลา 3. การนำเสนองานมอบหมายด้วยวาจาpower point และรายงาน สัปดาห์ที่ 1-16 - จิตพิสัย 10% - งานมอบหมายและรายงาน 30%
3  ผู้เรียนมีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  ผู้เรียนมีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 1. การสังเกต 2. งานมอบหมาย/รายงาน 3. ข้อสอบอัตนัยและ/หรือปรนัย -สัปดาห์ที่ 1-16 -สอบกลางภาค -สอบปลายภาค - จิตพิสัย 10% - สอบกลางภาค 20% - สอบปลายภาค 20%
4  ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  ผู้เรียนมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ผู้เรียนสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. การสังเกต 2. งานมอบหมาย 3. การประเมินโดยผู้เรียนในชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 1-16 - จิตพิสัย 10% - งานมอบหมายและรายงาน 30%
5  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. การสังเกต 2. งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 3. การนำเสนองานมอบหมาย สัปดาห์ที่ 1-16 - จิตพิสัย 10% - งานมอบหมายและรายงาน 30%
วันชัย จันทร์ประเสริฐ. 2542. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 276 น.
สถาบันวิจัยพืชไร่. 2537. การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่. กรมวิชาการเกษตร. กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์, กรุงเทพฯ. 124 น.
- พระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518
- พระราชบัญญัติพันธุ์พืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542
- สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย/http://seed.or.th/
- http://www.doa.go.th/กรมวิชาการเกษตร / ศูนย์วิจัยพืชไร่ / ผลงานวิจัย / งานผลิตเมล็ดพันธุ์
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป