โภชนาการ

Nutrition

1.1 เข้าใจสารอาหารู้ความหมายและความสำคัญของโภชนาการ
1.2 เข้าใจสารอาหาร สารอาหารกับกระบวนการแปรรูปและกระบวนการย่อยอาหาร
1.3 เข้าใจระบบการย่อยและการดูดซึมอาหาร ความต้องการอาหารและพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค...
1.4 เข้าใจโภชนาการของบุคคลในภาวะต่างๆ วิธีการประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัด และปัญหาโภชนาการในประเทศไทย
1.5 เข้าใจอาหารเชิงหน้าที่ทางโภชนาการ ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ ฉลากโภชนาการและการกล่าวอ้างทางโภชนาการ
       เพื่อเพิ่มเติมรายละเอียดของวิชา ด้านความรู้ ความเข้าใจ ให้ได้ตามเกณฑ์ของหลักสูตร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับงานที่เกี่ยวข้อง ชีวิตประจำวัน โดยให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
     ศึกษาความหมายและความสำคัญของโภชนาการ สารอาหารต่างๆ สารอาหาร กับกระบวนการแปรรูป ระบบการย่อยและการดูดซึมสารอาหาร ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค โภชนาการของบุคคลในภาวะต่างๆ วิธีการประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัด และปัญหาโภชนาการในประเทศไทย  อาหารเชิงหน้าที่ทางโภชนาการ  ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ ฉลากโภชนาการและการกล่าวอ้างทางโภชนาการ
      Study on the meaning and importance of nutrition; Nutrients in food processing technology; Digestion and absorption of nutrients; The demand for food and energy balance Symptoms and diseases caused by disorders of consumption; Nutritional status of individuals in different conditions Methods of nutritional assessment; nutrition therapy and nutrition problems in Thailand; Functional foods Nutrition Health supplements Nutrition labeling and nutrition claims:
 
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถามเพื่อแสดความคิดเห็นในชั้น
เรียนยกตัวอย่างกรณีศึกษาตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่แลพฤติกรรมที่ขาดจรรยาบรรณในวิชาชีพ อาจารย์
ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างด้านการมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็น
ของนักศึกษา โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
     1. การสอนแบบบรรยาย
     2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
-  ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้าน
คุณธรรมและจริยธรรม ตรวจสอบการ มีวินัยต่อการเรียนการตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และประเมินการรับฟัง ความ
คิดเห็นของผู้อื่น โดยประเมินเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
- การทดสอบก่อนเข้าบทเรียน  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ควบคุมไม่ให้มีการทุจริตในการ
ทดสอบ ตรวจสอบการเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ จากการแต่งกาย และพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
      1.  การเขียนบันทึก
      2.  การสังเกต
      3.  ข้อสอบปรนัยและอัตนัย
      2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาเรื่องความหมายและความสำคัญของ
โภชนาการ สารอาหารต่างๆ สารอาหารกับกระบวนการ แปรรูป ระบบการย่อยและการดูดซึมสารอาหาร  ความต้องการ
อาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค โภชนาการของบุคคลในภาวะต่างๆ
    2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยี วิธีการประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัดและ
ปัญหาโภชนาการในประเทศไทย อาหารเชิงหน้าที่ทางโภชนาการ ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ ฉลากโภชนาการและการ
กล่าวอ้างทางโภชนาการ
-   บรรยาย อภิปรายหลักการทฤษฎี เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องตามวัตถุประสงค์ทั่วไปของรายวิชาที่
ได้กำหนดไว้ และยกตัวอย่างให้เห็นถึงความเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้องกัน
-  นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม เพื่อนำเสนอและรายงานจัดทำรายงาน นักศึกษา
โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
     1. การสอนแบบบรรยาย
     2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
     3. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning
-  การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
-  ประเมินจากรายงานและการนำเสนอข้อมูลของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
  ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก

โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
     3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านโภชนาการที่มีความสามารถในการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
เรียนรู้และทำความเข้าใจในสิ่งที่สงสัยอันจะนำไปสู่ความสามารถในการแก้ปัญหาโภชนาการในตนเองและครอบครัว
ได้
     3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบในการค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการด้านโภชนาการ และนำ
ข้อมูลมา ประมวลและทบทวนเอกสารทางวิชาการด้านโภชนาการและอาหาร
เสริมสุขภาพ มานำเสนอได้อย่างเป็นขั้นตอนและถูกต้อง
1. การสอนแบบบรรยาย ในเนื้อหาวิชาทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้อง
2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจุบัน ที่ทางวิชาการที่แสดงผลของกระบวนกา
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารที่มีต่อโภชนาการ
3. สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
      โดยจัดให้มีการอภิปรายในรูป ของกิจกรรมกลุ่มในหัวข้อ ที่มอบหมายแก่นักศึกษา ที่เกี่ยวข้อง มีการตั้งโจทย์/
คำถามหรือยกตัวอย่างสถานการณ์ในระหว่างการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกคิด วิเคราะห์ และมีความกล้า
แสดงออกทางความคิด
-  ประเมินจากการสังเกตกระบวน ตอบปัญหาการจัดการระบบการแสดงความคิดความคิดเห็นเป็นในชั้นเรียนทั้งราย
บุคคล และกลุ่ม ของนักศึกษา เหตุผลสนับสนุนทางด้านวิชาการ ที่เหมาะสม
-  ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
-  การทดสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
       1.  โครงการกลุ่ม
       2.  การสังเกต
       3.  การนำเสนองาน
       4.  ข้อสอบอัตนัย
       5.  ข้อสอบปรนัย
   4.1.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีและความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองและของกลุ่ม
   4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้
อื่น
  ˜4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning โดย
    1.1  จัดกลุ่มและมอบหมายงานกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทางานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทางาน
ได้กับผู้อื่น
    1.2. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาคนอื่นและบุคคล
ภายนอก
    1.3  กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มแต่ให้นักศึกษาวางแผนและแบ่งงานให้
สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบด้วยตนเอง
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
     1.  โครงการกลุ่ม
     2.  การสังเกต
     3.  การนำเสนองาน
     4.  ข้อสอบอัตนัย
     5.  ข้อสอบปรนัย
โดย
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ประเมินความรับผิดชอบจากงานที่มอบหมายจากความตรงต่อเวลาและคุณภาพงาน
ที่ได้
- ประเมินการวางแผนการทางานและการแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่ม จากคุณภาพงานและการส่งงานตามกำหนดเวลา
- ให้นักศึกษาประเมินตนเองและสมาชิกคนอื่นๆในกลุ่มด้านความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล การปรับตัวในการทางานร่วมกันในกลุ่ม ทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 
 
      5.1.1  สามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการหรือปัญหาภาวะ
โภชนาการจากเหตุการณ์ปัจจุบันได้อย่างรวดเร็ว
      5.1.2  สามารถสืบค้น/ระบุเข้าถึง คัดเลือกแหล่งข้อมูล สามารถศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อ
แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม และสามารถสรุปประเด็น การสื่อสารทั้งการพูดและเขียน รวมทั้งการเลือกใช้รูปแบบการ
นำเสนอ
      5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและ
เครื่องมือสื่อสาร ที่เหมาะสม
      5.1.4  สามารถใช้ภาษาไทย อย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
-  มีการสอนและอธิบายเชิงทฤษฎีและนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตโดยใช้ Power point แล้วจากการค้นคว้าทาง
อินเตอร์เน็ต  เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอและ
สืบค้นข้อมูลกรณีศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญทางด้านโภชนาการ
-  แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศ
-  มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
-  การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และนำเสนองานด้วยวิธีใช้ Power point
โปสเตอร์ และวาจา
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ตลอดจนความเข้าในและความถูกต้อง ในเนื้อหา
ที่นำเสนอต่อชั้นเรียน
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 2 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 ุ6 7 1
1 24120404 โภชนาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4, 2.1, 2.2,2.3, 2.4,3.3, 4.1, 4.3,4.4, 5.2, 5.4, 5.6 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-16 5 %
2 2.3, 3.2 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 3, 7, 13, 16 15 %
3 2.3, 3.2 การสอบกลางภาค 9 30 %
4 1.3, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14, 16 20 %
5 2.1, 3.1, 3.2, การสอบปลายภาค 18 30 %
วิบูลย์ รัตนาปนนท์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. 2529. โภชนศาสตร์เบื้องต้น. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                          การอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.
สิริพันธุ์ จุลกรังคะ. 2550. โภชนศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2543. ธงโภชนาการ. คณะทำงานจัดทำข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของ   
           คนไทย. กรุงเทพฯ.
คณะกรรมการจัดทำข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. 2546. ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควร   
           ได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ.2546. กองโภชนาการ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ.
คณะกรรมการสวัสดิการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2545 . ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย.
            สำนักพิมพ์สามเจริญพาณิชย์ จำกัด. กรุงเทพฯ.
นัยนา บุญทวียุวัฒน์. 2546. ชีวเคมีทางโภชนาการ. บริษัทบริษัท ซิกม่า ดีไซน์กราฟฟิก จำกัด. กรุงเทพฯ.
ปราณีต ผ่องแผ้ว. 2539. โภชนศาสตร์ชุมชน ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว. สำนักพิมพ์
           บริษัท ลิฟวิ่ง ทรานส์ มีเดีย จำกัด. กรุงเทพฯ.
วิชัย ตันไพจิตร. 2530. โภชนาการเพื่อสุขภาพ. สำนักพิมพ์อักษรสมัย. กรุงเทพฯ.
เสาวนีย์ จักรพิทักษ์. 2537. หลักโภชนาการปัจจุบัน. สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ.
อบเชย วงศ์ทอง. 2542. โภชนศาสาตร์ครอบครัว. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสาตร์. กรุงเทพฯ.
C.D. 1995. Advance Nutrition: Macronutrients. CRC Press, Inc. USA
Grosvenor, M. B. and L. A. Smolin. 2002. Nutrition: from Science to life. Fort Worth: Harcourt Brace College
          Publisher.
Henry, C.J. and Chapman, C. (2002). The Nutrition Handbook for Food Processors. Woodhead Publishing. USA.
Mahan, L.K., Escott - Stump, S.V: Krause's. 2000 Food Nutrition & Diet Therapy. 9thed. Phiadelphia, W.B.
          Saunders Company.
Smolin, L.A. and Grosvenor, M.B. (1994). Nutrition: Science and Applications. Saunders College Publishing.
          USA.
Whitney, E. and Rolfes, S.R. (2005). Understanding Nutrition. 10th ed. Thomson Learning, Inc. USA
      การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
             1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียo
             2.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
             3.3  ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
    2.1 การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
    2.2 ผลการทดสอบย่อย
    2.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน ดังนี้
     3.1  ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษาโดยดูจากแบบทดสอบก่อนการเรียน เพื่อปูพื้นฐานและ
ทบทวนในบางหัวข้อ
     3.2  การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
         ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการประเมินผลคะแนนการนำเสนอรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน และเปิดการอภิปรายในชั้นเรียน โดยยกตัวที่และที่ต้องปรับปรุงแก้ไข อธิบายทำความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และพิจารณาคะแนนสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
        จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและราย
ละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
     5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     5.2  ปรับปรุงรูปแบบของกิจกรรมให้มีความหลากหลาย