มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร

Livestock Farm Standards and Food Safety

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 รู้ระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย
1.2 รู้มาตรฐานฟาร์มไก่ไข่ ไก่เนื้อ ไก่พันธุ์ การรวบรวมไข่ โรงฟักไข่ ฟาร์มไก่พื้นเมืองแบบเลี้ยงปล่อย
1.3 รู้มาตรฐานฟาร์มเป็ดพันธุ์ เป็ดเนื้อ เป็ดไข่ ห่าน
1.4 รู้มาตรฐานฟาร์มสุกร
1.5 รู้มาตรฐานฟาร์มโคนม ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ สุขลักษณะสำหรับน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม
1.6 รู้มาตรฐานฟาร์มโคเนื้อ แพะ แกะและกวาง
1.7 รู้มาตรฐานปศุสัตว์อินทรีย์
1.8 รู้มาตรฐานโรงฆ่าสัตว์ โรงฆ่าโค กระบือ แพะ แกะ นกกระจอกเทศและหลักปฏิบัติด้านสุขลักษณะสำหรับเนื้อสัตว์
1.9 รู้มาตรฐานสวัสดิภาพสัตว์:การขนส่งสัตว์ทางบก การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับหญ้าแห้งแพงโกลา การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหารสัตว์ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับการผลิตและการให้อาหารสัตว์
1.10 รู้มาตรฐานสินค้าจากฟาร์มสัตว์ มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร
1.11 รู้หลักการของ GMP และ HACCP
1.12 รู้การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม
เพื่อให้รายวิชามีความสมบูรณ์และทันกับการเปลี่ยนแปลง
 
ศึกษาเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP)
มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ละชนิด การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร และมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์
š 1.1 1) มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริม
ความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
š 1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
10.การประเมินโดยเพื่อน
˜2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพหมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ (พืชศาสตร์/สัตว
ศาสตร์/ประมง) ที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ที่
ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
š2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
10.การประเมินโดยเพื่อน
š3.1สามารถคิดวิเคราะห์งาน อย่างเป็นระบบ
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์
š3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
10.การประเมินโดยเพื่อน
š4.1 ภาวะผู้นา
4.2 มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
10.การประเมินโดยเพื่อน
5.1 มีทักษะการสื่อสาร
š5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 2.1 2.2 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 5.1 5.2
1 BSCAG207 มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3,1.4, 4.1,4.2,4.3,4.4 5.1, 5.2, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1, 2.2 การทดสอบย่อย 4,6,10,14 5%
3 2.1, 2.2 การสอบกลางภาค 8 40%
4 3.1,3.2, 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 10%
5 2.1, 2.2 การสอบปลายภาค 16 40%
อุษา เชษฐานนท์. 2555. มาตรฐานฟาร์มและผลิตภัณฑ์สัตว์ปลอดภัย. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 315 หน้า.
วิเชียร วรพุทธพร. 2549. ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมเพื่อการประกันคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร. วารสารศูนย์บริการวิชาการ. 14 (3) : 30-35.

สงวนรุ่งวงศ์. 2549. คู่มือการประยุกต์ใช้ GMP และ 5ส ในอุตสาหกรรมอาหาร. บริษัทพงษ์วรินทร์การพิมพ์ จำกัด : กรุงเทพฯ. 136 หน้า.

สถาบันอาหาร. 2542. การประยุกต์ใช้ระบบ HACCP ในผลิตภัณฑ์อาหาร. ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรรถสิทธิ์การพิมพ์ : กรุงเทพ 147 หน้า.
กรมปศุสัตว์. _________. กฎหมายเกี่ยวกับการปศุสัตว์. ข้อมูลออน์ไลน์ที่ :
http://www.dld.go.th/th/index.php?option=com_content&view=section&id=12&Itemid=56
มกอช. ________. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. ข้อมูลออน์ไลน์ที่ :
http://www.acfs.go.th/
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯลฯ
ให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชาหรือผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
กำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนในรูปแบบ การวิจัยในชั้นเรียน หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย เป็นต้น
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาในภาคเรียนถัดไป