ปฏิบัติการพันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช

Laboratory in Genetics and Plant Breeding

วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
- มีทักษะเกี่ยวกับ ความน่าจะเป็น พันธุศาสตร์ของเมนเดล พันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่ พันธุศาสตร์ประชากร ยีนที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน และสารพันธุกรรมของพืช
- มีทักษะทางด้านการสืบพันธุ์ของพืช การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม และเทคนิคการผสมพันธุ์ในพืชบางชนิด
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา :. ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน พัฒนาบุคลากรด้านการเรียนการสอนและบริการวิชาการ ให้มีประสบการณ์จากการนำความรู้ไปปฏิบัติจริง มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และให้หลักสูตรมีความทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ปฏิบัติการเกี่ยวกับ ความน่าจะเป็น พันธุศาสตร์ของเมนเดล พันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่ พันธุศาสตร์ประชากร ยีนที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน สารพันธุกรรม การสืบพันธุ์ของพืช การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมตัวเอง การปรับปรุงพันธุ์พืชผสมข้าม และเทคนิคการผสมพันธุ์ในพืชบางชนิด
- วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์ สาขาพืชศาสตร์ หรือ โทรศัพท์ 081-792-0315
- e-mail : k_rujiphot@rmutl.ac.th เวลา 20.00 –24.00 น. ทุกวัน
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยการใช้กรณีศึกษา : พืชผสมตัวเองและพืชผสมข้าม
- การสอนแบบ Brain Storming Group โดยการแบ่งเป็นกลุ่มปฎิบัติงาน แต่ละกลุ่มได้ระดมความคิดร่วมกัน แบ่งหน้าที่การปฏิบัติงานภายในเวลาที่กำหนด
- การสังเกตและบันทึกการเข้าเรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- แบบทดสอบก่อนเข้าสู่บทเรียนภาคปฎิบัติงาน
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดยการใช้สื่อภาพเคลื่อนไหว (power point/clip VDO)
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยการใช้พืชผสมตัวเองและพืชผสมข้าม
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยการแบ่งกลุ่มผู้เรียน เพื่อปฏิบัติงานร่วมกัน
- การสังเกตจากการปฏิบัติงานของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- รายงานผลปฏิบัติการ
- ข้อสอบวัดผลการเรียนรู้ (สอบกลางภาค)
-  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) ให้สืบค้นข้อมูลทางวิชาการจากแหล่งออนไลน์ที่เชื่อถือได้
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) : กรณีศึกษาจากพืชผสมตัวเองและพืชผสมข้าม
- การสังเกตจากการปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
- รายงานผลปฏิบัติการ
- ข้อสอบวัดผลการเรียนรู้ (สอบกลางภาค)
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยการใช้กรณีศึกษาจากพืชผสมตัวเองและพืชผสมข้าม
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียน เพื่อปฏิบัติงานร่วมกัน
- การสังเกตการปฏิบัติงานของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- รายงานผลปฎิบัติการในกลุ่มผู้เรียน
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
- การนำเสนองานด้วยวิธีรายงาน / วาจา หรือ Power point
- งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
- การสังเกตผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- รายงานผลการปฏิบัติการ
- สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
- สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
- สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
- งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
- งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
- การสังเกตการปฏิบัติงาน
- รายงานผลปฏิบัติการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - แบบบันทึกการเข้าชั้นเรียน มีข้อตกลงให้ตรงต่อเวลา รักษากฏ กติกา มารยาทในชั้นเรียน - ผู้เรียนมีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม - ผู้เรียนมีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ - ผู้เรียนมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวล าและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม - ผู้เรียนมีความเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ -การสังเกต -การเข้าชั้นเรียน -การเขียนรายงานผลการปฏิบัติงานและส่งตามกำหนดเวลา - การสังเกตผู้เรียนทุกสัปดาห์ - การตรวจแปลงทุกสัปดาห์ - การส่งรายงานฯ ทุกสัปดาห์ - การสังเกตแบบบันทึกการเข้าชั้นเรียน 10% - รายงานผลปฏิบัติการ 45%
2 - ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา - ผู้เรียนสามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา - ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การสังเกต การปฏิบัติงานมอบหมาย รายงานผลการปฏิบัติงาน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 18 สอบกลางภาค 20 คะแนน สอบปลายภาค 25 คะแนน
3 - ผู้เรียนมีทักษะปฏิบัติงานจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ - ผู้เรียนมีทักษะในการนำความรู้ มาคิด และใช้อย่างมีระบบ การสังเกต การปฏิบัติงานมอบหมาย รายงานผลการปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ 1-15 - จิตพิสัย 10% - รายงานผลปฏิบัติการ 45%
4 - ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี - ผู้เรียนมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ผู้เรียนสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม การสังเกต การปฏิบัติงานมอบหมาย รายงานผลการปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ 1-15 - จิตพิสัย 10% - รายงานผลปฏิบัติการ 45%
5 - ผู้เรียนสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม - ผู้เรียนสามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การสังเกต - การปฏิบัติงานมอบหมาย - รายงานผลการปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ 1-15 - จิตพิสัย 10% - รายงานผลปฏิบัติการ 45%
6 - ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง - ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ - ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ - งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง - การสังเกต - รายงานผลปฏิบัติการ สัปดาห์ที่ 1-15 - จิตพิสัย 10% - รายงานผลปฏิบัติการ 45%
กาญจนา รุจิพจน์. 2561. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 21011313 บทปฏิบัติการพันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2528. ปรับปรุงพันธุ์พืช. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช, กรุงเทพฯ. 155 น.
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2544. ปรับปรุงพันธุ์พืช : ความหลากหลายของแนวคิด. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 272 น.
กฤษฎา สัมพันธารักษ์. 2546. ปรับปรุงพันธุ์พืช : พื้นฐาน วิธีการ และแนวคิด. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 237 น.
นพพร สายัมพร. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 น.
นิตย์ศรี แสงเดือน. 2536. พันธุศาสตร์พืช. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย-เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 315 น.
ไพศาล เหล่าสุวรรณ. 2527. หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยา-สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 320 น.
ไพศาล เหล่าสุวรรณ. 2535. พันธุศาสตร์. โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ. 342 น.
สำนักงานคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ. 2542. พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542. สำนักงานคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 30 น.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯลฯ และ/หรือแบบประเมินผลการจัดการสอน
ดำเนินงานโดย
1.1 สำนักงานรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
1.2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
หัวหน้าสาขาพืชศาสตร์ ประเมินการเรียน-การสอนผ่าน “แบบข้อตกลงและแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (TOR)” วิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอน เช่น หลักสูตร/ภาควิชา/คณะ กำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การสอนที่แต่งตั้งโดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จากผู้สังเกตการณ์สอน หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา ฯลฯ
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 คณะฯ จัดสัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียน-การสอน
3.2 สาขา/อาจารย์มีการทำวิจัยในหรือนอกชั้นเรียน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชาและหลักสูตร/ภาควิชา/คณะ กำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การสอนที่แต่งตั้งโดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน จากผู้สังเกตการณ์สอน หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา ฯลฯ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือเอกสารทางวิชาการต่างๆ