วงจรดิจิตอล

Digital Circuits

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน องค์ประกอบ ประโยชน์การใช้งานระบบสารสนเทศ
ผลกระทบ การใช้งานระบบสารสนเทศต่อสังคม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง
ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับระบบจำนวนและรหัส การแปลงฐาน การแทนเลขฐานสิบด้วยเลขฐานสองแบบมีและไม่มีค่าประจำตำแหน่ง  การบวก ลบ คูณ และหารเลขฐานใดๆ พีชคณิตบูลีน ผังคาร์โนห์ การออกแบบวงจรคอมไบเนชันลอจิก  การออกแบบวงจรซีแควนเชียลลอจิก วงจรแปลงสัญญาณแอนะลอกเป็นดิจิตอลและดิจิตอลเป็นแอนะลอก  หน่วยความจำอุปกรณ์ดิจิตอลสมัยใหม่
0
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ตระหนักในความสำคัญของคุณธรรมจริยธรรม   1.1.1 มีจรรยาบรรณวิชาชีพตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้   1.1.2 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.1)   1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2)  1.1.4 มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม (· ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)   1.1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.4) 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ตระหนักในความสำคัญของคุณธรรมจริยธรรม   มีจรรยาบรรณวิชาชีพตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้   1.2.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.1)  1.2.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2)  1.2.3 มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม (· ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)  1.2.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.4)   
1.3.1   สังเกตการแต่งกาย และการกระทำผิดวินัย (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)  1.3.2   เช็คชื่อทุกครั้งที่ทำการสอน (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)    1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4) 
2.1 1 เข้าใจระบบตัวเลขและรหัสที่ใช้ในงานด้านดิจิตอล  2.1.2 เข้าใจการทำงานของวงจรดิจิตอล  2.1.3 เข้าใจการออกแบบวงจรดิจิตอลและลอจิก  2.1.4 เข้าใจการใช้งานวงจรดิจิตอลในงานอุตสาหกรรม  2.1.5 เห็นคุณค่าของการนำทฤษฎีไปใช้   2.1.6 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง   (ผลการเรียนรู้ข้อ 2.3) 
2.2.1 เข้าใจระบบตัวเลขและรหัสที่ใช้ในงานด้านดิจิตอล  2.2.2 เข้าใจการทำงานของวงจรดิจิตอล  2.2.3 เข้าใจการออกแบบวงจรดิจิตอลและลอจิก  2.2.4 เข้าใจการใช้งานวงจรดิจิตอลในงานอุตสาหกรรม   2.2.5 เห็นคุณค่าของการนำทฤษฎีไปใช้  2.2.6 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 
2.3.1   ทดสอบย่อย (ผลการเรียนรู้ข้อ 2.1-2.3, 3.2, 5.3)   2.3.2   สอบกลางภาค (ผลการเรียนรู้ข้อ 2.1-2.3, 3.2, 5.3)  2.3.3    สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี (ผลการเรียนรู้ข้อ 2.1-2.3, 3.2, 5.3)  2.3.4   ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด (ผลการเรียนรู้ข้อ 2.1-2.3, 3.1-3.2,  5.1-5.3, 6.1) 
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ (· ผลการเรียนรู้ข้อ 3.1)   3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ  3.2.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.3.1   ประเมินจากผลการทำงาน (ผลการเรียนรู้ข้อ 3.1-3.2
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม   4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  4.2.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  4.2.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  4.2.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.3.1   ประเมินจากผลการทำงาน (ผลการเรียนรู้ข้อ 4.1-4.4)
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  (ผลการเรียนรู้ข้อ 5.2)   5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  5.2.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  (· ผลการเรียนรู้ข้อ 5.2)  5.2.3  สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3.1   ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด (ผลการเรียนรู้ข้อ 5.1-5)
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  6.1.2 มีทักษะด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
6.2.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  6.2.2 มีทักษะด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
6.3.1 ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กฎพื้นฐานในวงจรดิจิตอล -ระบบจำนวนและเลขฐาน -รหัสในระบบดิจิตอล -การทดสอบทักษะวงจรดิจิตอลพื้นฐาน
2 กฎพื้นฐานในวงจรดิจิตอล(ต่อ) -รหัสในระบบดิจิตอล -การปฏิบัติการใช้งานเกตพื้นฐาน
3 พีชคณิตแบบบูลและการลดรูปวงจรลอจิก -การลดรูปฟังก์ชั่นทางลอจิก -การปฏิบัติการลดรูปฟังก์ชั่นทางลอจิก
4 พีชคณิตแบบบูลและการลดรูปวงจรลอจิก (ต่อ) -ระบบการส่งสัญญาณแบบแมสเสจสวิตชิ่ง - วงจร Nand Gate และ Nor Gate
5 การลดรุปสมการลอจิกโดยวิธี Karnaugh Map (K-map) -การลดรูปฟังก์ชั่นทางลอจิกด้วย k-map ,Vem ,Quine-McCkusKey -การปฏิบัติการลดรูปฟังก์ชั่นทางลอจิกด้วย k-map และต่อวงจร
6 วงจรคอมไบเนชั่น -วิธีการออกแบบวงจรดิจิตอล -การปฏิบัติการออกแบบวงจรดิจิตอล
7 ทบทวนบทเรียนที่ 1-6
8 สอบกลางภาค
9 วงจรซีเควนเชียล -วงจรฟลิบฟลอบ -การปฏิบัติการวงจรซีเควนเชียล
10 วงจรซีเควนเชียล (ต่อ) -วงจรนับชนิด ASYNCHRONOUS -การปฏิบัติการวงจรซีเควนเชียล
11 วงจรซีเควนเชียล (ต่อ) -วงจรนับชนิด SYNCHRONOUS -การปฏิบัติการวงจรซีเควนเชียล
12 วงจรซีเควนเชียล (ต่อ) -วงจรชิพทรีจิสเตอร์ -การปฏิบัติการวงจรชิพทรีจิสเตอร์
13 หน่วยความจำ -หน่วยความจำ -การปฏิบัติการวงจรหน่วยความจำ
14 โปรแกรมเมเบิ้ลลิจิกดิไวซ์ (PLD) -ชนิดและคุณสมบัติของ PLD -การนำ PLD ไปใช้งาน -การปฏิบัติการ PLD
15 การประยุกต์ใช้ไอซีดิจิตอล -การใช้งานวงจรดิจิตอลกับสัญญาณแอนาลอก -การปฏิบัติการใช้งานไอซีดิจิตอล
16 ทบทวนบทเรียนที่ 9-15
17 สอบปลายภาค
1. Digital Design : Principles&Practices. 3rd   John  F. Wakerly, Prentice Hall ,2000.  2. Digital Systems : Principles and Applications .11th   Tocci , Pearson , 2010.  3. Digital Design. 3rd   M.Morris Mano, EBSCO Publishing, 2003.   4. Digital Fundamentals. 9th Thomas L. Floyd, Prentice Hall, 
http://niponw.rmutl.ac.th/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
การทำแบบฝึกหัดของนักศึกษา ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากทราบผลการประเมินการสอนและการสอบแต่ละครั้งของนักศึกษา แล้วจึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการสอนที่เกิดขึ้นและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทำแบบฝึกหัดท้ายบท การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การพิจารณาให้คะแนนจิตพิสัย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดรายวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น เพื่อให้นักศึกษาสามารถเกิดกระบวนการเรียนรู้และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ต่อไป