เทคนิคการวิเคราะห์และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทางอาหาร

Analytical Techniques and Instrumentation in Food Research

1.1 รู้และเข้าใจหลักทฤษฎีพื้นฐานในเทคนิคการวิเคราะห์และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทางอาหาร
1.2. รู้และเข้าใจหลักการสุ่มและเตรียมตัวอย่างในการวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางกายภาพ และเคมี
1.3. เข้าใจหลักการและการทำงานของเครื่องมือชั้นสูงในการวิเคราะห์คุณภาพอาหาร
1.4. สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคใหม่และเครื่องมือชั้นสูงในงานวิจัยด้านอาหารได้
การปรับปรุงรายเนื้อหาเพิ่มเติมรายละเอียดของวิชา ด้านความรู้ ความเข้าใจ ให้ได้ตามเกณฑ์ของหลักสูตร สอดคล้องกับพื้นฐานความรู้ของนักศึกษาและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับงานที่เกี่ยวข้อง ให้ทันสมัยสอดคล้องกับหลักสูตรที่มีการปรับปรุงขึ้นใหม่
ศึกษาและฝึกปฏิบัติพื้นฐาน และ ขั้นสูงเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคที่เกี่ยวกับวิธีวิเคราะห์วิจัยทางอาหารใน ด้านการทดสอบทางประสาทสัมผัส การวิเคราะห์ทางกายภาพ และทางเคมี การใช้เครื่องมือวิเคราะห์พื้นฐาน และ ขั้นสูง เช่น เครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง เครื่องวัดปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด เครื่องวัดสี เครื่องหาความชื้นแบบอินฟาเรด ตรวจสอบปริมาณส่วนประกอบทางเคมีอาหารเบื้องต้น เครื่องวัดเนื้อสัมผัสตรวจสอบปริมาณธาตุอาหารเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ วัดสารสารสำคัญในอาหารด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร และเครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง (HPLC), ศึกษาค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องและรายงานผล
Study and practice on basic and advance techniques in food research and analysis both sensory evaluation, physical, chemical qualities. Using basic and advance instruments i.e. pH meter, Hand refractometer, Infrared moisture balance, color meter, texture analyzer, proximate analysis, UV-Vis spectrophotometer, High Performance Liquid Chromatography and Atomic Absorption Spectrophotometer Literature review on the related research and report.
 
เสาร์ เวลา 08.00 – 12.00 น. ห้องพักอาจารย์ อาคารปฏิบัติการอุตสาหกรรมเกษตร .โทร. 083 865 7722. e-mail; jiratawan@gmail.com เวลา 10.00 – 18.00 น. ทุกวัน

 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
˜1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
™1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
™1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้
™1.5 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
™ 1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1. ใช้วิธีการสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียน
2. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษาเช่น การคำนึงถึงความปลอดภัย ต่อผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริโภค และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
1. การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
2. ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆในรายวิชาเดียวกัน
3. ไม่ทุจริตในการสอบและคัดลอกงานผู้อื่นมาเป็นของตน
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
˜ 2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
š 2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
š 2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง
โโดยเน้นหลักการทางทฤษฎี แล้วนำไปประยุกต์ใช้ในทางปฎิบัติการกับการวิเคราะห์ตัวอย่างจริงประกอบการบรรยาย และฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและเคมีของผลิตภัณฑ์อาหารนำเสนอรายงาน วิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในรายวิชาแล้วสรุปและนำเสนอ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1.การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากการนำเสนอผลการปฏิบัติการในแต่ละการทดลอง
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานบทปฏิบัติการ
˜ 3.1มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
š 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางรูปแบบ
- ให้ความรู้ด้านหลักการและเทคนิคในการวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยเครื่องมือพื้นฐานและขั้นสูง เช่น เช่น เครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง เครื่องวัดปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด เครื่องวัดสี เครื่องหาความชื้นแบบอินฟาเรด วัดเนื้อสัมผัส สเปกโทรโฟโตมิเตอร เครื่องวิเคราะห์และแยกสารของเหลวด้วยความดันสูง ,
- สาธิตและให้นักศึกษาปฏิบัติการวิเคราะห์ตัวอย่างและเขียนรายงานผลการวิเคราะห์
1.การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรและปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากการนำเสนอผลการปฏิบัติการในแต่ละการทดลอง
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานบทปฏิบัติการ
˜ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
˜ 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
š 4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะรวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทางรูปแบบ
1. การค้นคว้าความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการวิเคราะห์อาหารขั้นสูง
การ นำเสนอรายผลปฏิบัติการวิเคราะห์ที่มีการวิจารณ์ผลเทียบกับผลงานวิจัยที่ผ่านมาและมีการให้ข้อคิดเห็น
1. ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2. ประเมินจากการนำเสนอรายงานแบบปากเปล่า
š 5.1 ทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าอิสระ
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š 5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่แสดงถึงความน่าเชื่อถือของผลการทดลองวิเคราะห์คุณภาพอาหารที่ได้
2. การสอนแบบอภิปรายการนำเสนอผลงานการวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยเครื่องมือวิเคราะห์คุณภาพเบื้องต้น ถึง ขั้นสูง ชนิดต่างๆ
1. ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2. ประเมินจากการนำเสนอรายงานแบบปากเปล่า 1.การทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากการนำเสนอผลการปฏิบัติการในแต่ละการทดลอง
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานบทปฏิบัติการ
นักศึกษาเข้าใจหลักการและสามารถวิเคราะห์คุณภาพทางเคมี กายภาพ และทดสอบทางประสาทสัมผัส อาหารพื้นฐานได้
สอนแบบบรรยายเชิงสาธิต  และปฏิบัติการวิเคราะห์ตัวอย่างอาหาร
ผลการสอบปฏิบัติการและ รายงานผลการปฏิบัติการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 1 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา แบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา แบบบรรยายร่วมกับฝึกปฏิบัติการ การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ แบบบรรยายร่วมกับฝึกปฏิบัติการ แบบบรรยาย ร่วมกับ สาธิต และฝึกปฏิบัติการ แบบบรรยายร่วมกับฝึกปฏิบัติการ แบบบรรยาย ร่วมกับ สาธิต และฝึกปฏิบัติการ แบบบรรยาย ร่วมกับ สาธิต และฝึกปฏิบัติการ แบบบรรยายร่วมกับฝึกปฏิบัติการ แบบบรรยายร่วมกับฝึกปฏิบัติการ การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูล แบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา แบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา แบบบรรยายร่วมกับฝึกปฏิบัติการ แบบบรรยายร่วมกับฝึกปฏิบัติการ แบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการในการวิเคราะห์จัดทำรายงานผลการวิเคราะห์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้น แบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา แบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา แบบบรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1 MSCGT407 เทคนิคการวิเคราะห์และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทางอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.1 และ 5.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 การสอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 การสอบปลายภาค 6 8 11 17 10% 20% 10% 20%
2 1.1, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.1 และ 5.2 การรายงานผลภาคปฏิบัติการ การนำเสนอผลรายงาน ทุกสัปดาห์ที่มีการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 30 ๔
3 1.1, 1.2, 4.1, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การส่งรายงานผลปฎิบัติการตามที่ได้รับมอบหมาย ตรงตามเวลา ทุกสัปดาห์ที่มีการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10
1.1  กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์.2558. วิธีมาตรฐานสำหรับการวิเคราะห์คุณภาพอาหาร เล่มที่ 1
               สืบค้นจาก  http://dmsc-library.moph.go.th/ebooks/files   232 หน้า

นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์ และ คณิตา ตังคณานุรักษ์. 2547. สเปกโทรสโกปีด้านการวิเคราะห์.

สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.

Sam Zhang,Lin Li,Ashok Kuma 2008. Materials Characterization Techniques. CRC

    Press, Taylor & Francis Group. Newyork. 319 p.

Yeshajahu Pomeranz and Clifton E, Meloan.1987. Food Analysis; Theory and

    Practice. 2nd ed. Maryland: An  AVI book  Van Nostrand Reinhold Company,     New York Publication. ,797p.
       2.1 เอกสารประกอบการใช้เครื่องมือวิเคราะห์คุณภาพอาหารเบื้องต้นแลขั้นสูงชนิดต่างๆ
เว็บไซด์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)  www.tistr.or.th วารสารด้านวิเคราะห์และการใช้เครื่องมือวิเคราะห์อาหารขั้นสูง  E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

 
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 ผลการประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
2.1 ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้ร่วมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 หลังจากที่สรุปผลการประเมิน
4.1   การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น  หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ  รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ