ปฏิบัติงานเทคนิคก่อสร้าง 2

Construction Techniques Workshop 2

1.1 รู้-เข้าใจในชนิดและหน้าที่ของเครื่องมืองานก่ออิฐฉาบปูน  1.2 รู้วัสดุอุปกรณ์ในงานก่ออิฐฉาบปูนได้  1.3 สามารถปฏิบัติงานก่ออิฐ จับเหลี่ยม และฉาบปูนได้  1.4 สามารถปฏิบัติงานเหล็กเสริม และงานไม้แบบได้  1.6 สามารถปฏิบัติงานเทคอนกรีตโครงสร้างได้  1.7 สามารถปฏิบัติงานปูกระเบื้อง งานหินล้าง-ทรายล้าง และงานหินขัดได้  1.8 มีกิจนิสัยที่ในการปฏิบัติงาน  
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการสอนแบบต่างๆ ที่จำเป็นและหลากหลาย ตลอดจนการจัดเตรียมสื่อและอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนที่เหมาะสม เพื่อเตรียมตัวสำหรับการไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ รวมทั้งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำไปประกอบการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป   
ฝึกปฏิบัติงานก่ออิฐ ฉาบปูน งานคอนกรีต งานแบบหล่อ งานเหล็กเสริมคอนกรีต งานเทคอนกรีตโครงสร้าง งานปูกระเบื้อง งานหินล้างหินขัด งานไม้แบบ งานหล่อโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
3.1 อาจารย์ประจำวิชารายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความ  ต้องการ  1  ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)   
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม  จริยธรรมไปพร้อมๆ  กับวิทยาการต่างๆ  ที่ศึกษาเพื่อให้ สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น  และเป็นประโยชน์ต่อส่วนร่วม สามารถพัฒนาพัฒนาคุณธรรม  จริยธรรม  รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมดังนี้ 
1.1.1 มีวินัย ความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเองและเพื่อนร่วมงาน 
1.1.2 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.1  บรรยายประกอบกับการสาธิต 
1.2.2  ฝึกปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับหมอบหมาย
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน 
1.3.2 การให้คะแนนการเข้าเรียน 
1.3.3 การทำงานร่วมกับผู้อื่น 
1.3.4 การใช้วัสดุอุปกรณ์ถูกต้อง
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในด้านปฏิบัติงานก่ออิฐ ฉาบปูน งานคอนกรีต งานแบบหล่อ งานเหล็กเสริมคอนกรีต งานเทคอนกรีตโครงสร้าง งานปูกระเบื้อง งานหินล้างหินขัด งานไม้แบบ งานหล่อโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก 
2.1.2 สามารถบูรณาความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 
2.1.3 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการเหมาะสม สามารถประยุกต์วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ-เครื่องจักรได้เหมาะสมกับลักษณะงาน 
2.1.4 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงาน จริงได้  
2.2.1 สอนโดยการบรรยายประกอบ Power Point 
2.2.2 การสาธิตและให้ฝึกปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย 
2.2.3 อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์สาขาอื่นๆ
2.3.1   สอบกลางภาค  สอบปลายภาค  ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ความเข้าใจในหลักการ 
2.3.2   ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 
3.1.2 สามารถสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจได้อย่างอย่างเหมาะสม 
3.1.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 การบรรยายประกอบการสาธิต 
3.2.2 การมอบหมายการฝึกปฏิบัติตามแบบที่กำหนด 
3.2.4 แนะนำวิธีการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล 
3.3.1 สังเกตพฤติกรรมการฝึกปฏิบัติงานในด้านความรับผิดชอบ การมีลักษณะกิจนิสัยการทำงานที่ดี 
3.3.2 สอบกลางปฏิบัติและทฤษฎีทั้งกลางภาคและปลายภาค 
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้ในสาข่าวิชาชีพที่ เรียนมาสื่อสารได้อย่างเหมาะสม 
4.1.2 สามารถวางแผนการทำงานและรับผิดชอบ ในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและมีความสอดคล้องกับวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 
4.1.3 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งเป็นรายบุคคลและงานกลุ่ม สามารถทำงานและปรับตัวเข้ากับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามและสามารถวางตัวให้เหมาะสมกับความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม  กำหนดเวลา 
4.1.4 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และอนุรักษ์สภาพแวดล้อมที่ดี
4.2.1 แนะนำหัวข้อ ประเด็นต่างๆ ตลอดจนถึงข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องเรียน 
4.2.2 ใช้วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนเครื่องมือ-เครื่องจักรเพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะการทำงาน 
4.2.3 ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม
4.2.4 ฝึกปฏิบัติเป็นส่วนบุคคลและเป็นกลุ่ม
4.3.1 ประเมินโดยการสังเกตจากพฤติกรรมการฝึกปฏิบัติ 
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเองตามที่มอบหมาย
5.1.1 มีทักษะการคิดคำนวณ การแยกรายการวัสดุ 
5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน และอ่านแบบแปลนสัญลักษณ์ 
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม 
5.2.1 สอนโดยการบรรยายประกอบการสาธิต /ใช้อุปกรณ์เครื่องมือ-เครื่องจักรที่เกี่ยวข้อง 
5.2.2 แนะนำวิธีการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล 
5.2.3 ฝึกปฏิบัติตามใบงานเพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะ
5.3.1 ประเมินจากรายงานที่มอบหมาย การสอบปฏิบัติทั้งกลางภาคและปลายภาคเรียน 
5.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุลคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCV017 ปฏิบัติงานเทคนิคก่อสร้าง 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.3, 2.1, 2.3– 3.2 , 4.2 , 5.1 , 6.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 20 % 20 %
2 1.1,1.3, 2.1, 2.3– 3.2 , 4.2 , 5.1 , 6.1 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 50 %
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน,การปฏิบัติตามระเบียบ การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10 %
E.lindsayBraley. Brick Work. London : Sir Isaac Pitman & Sons Ltd. 1963. 
พิภพ สุนทรสมัย. ช่างปูนก่อสร้าง. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น) 
พงศ์พัน วรสุนทรโรสถ. วัสดุก่อสร้าง. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด , 2538. 
มนตรี สมไร่ขิง. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานงานช่าง . กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2551. 
ดำเนิน คงพาลา. งานก่ออิฐฉาบปูนภาคปฏิบัติ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น) 2552 
พิภพ สุนทรสมัย.ช่างปูนก่อสร้าง(ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย- ญี่ปุ่น), 2552.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา Basic Skill
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับ 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ