ปรัชญาและหลักการอาชีวศึกษา

Philosophy and Principles of Vocational Education

เพื่อที่ต้องการให้ผู้ที่ศึกษาวิชานี้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย ขอบข่าย และความสำคัญของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา วิวัฒนาการและแนวโน้มของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ  นโยบายการจัดการศึกษา แนวคิด และกลวิธีการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของชาติและของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการจัดการเรียนการสอนในอาชีวศึกษา 
เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ทางด้านหลักการอาชีวะและเทคนิคศึกษา สามารถที่จะนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงเมื่อทำการศึกษาครบตามเนื้อหาสาระที่ได้ดำเนินการปรับปรุงให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น 
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ขอบข่าย และความสำคัญของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา วิวัฒนาการและแนวโน้มของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ  นโยบายการจัดการศึกษา แนวคิด และกลวิธีการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของชาติและของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการจัดการเรียนการสอนในอาชีวศึกษา 
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาโดยการติดป้ายประกาศ 
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ 
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
สอดแทรกตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงภาระ ความรับผิดชอบของอาชีพครู และผลกระทบที่เกิดขึ้นหากครูไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การลอกการบ้าน การลอกกันระหว่างการทดสอบย่อย เป็นต้น กำหนดบทลงโทษและชี้ให้เห็นถึงผลของพฤติกรรมดังกล่าวที่จะส่งผลกระทบต่อสังคมในอนาคต
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
1.3.2    สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น
ความรู้ที่จะได้รับครอบคลุมตามวัตถุประสงค์รายวิชา ประกอบไปด้วย ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีและศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ขอบข่าย และความสำคัญของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา วิวัฒนาการและแนวโน้มของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ  นโยบายการจัดการศึกษา แนวคิด และกลวิธีการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของชาติและของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการจัดการเรียนการสอนในอาชีวศึกษา
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 
2.3.2   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย 
2.3.3   พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม ชีวะและเทคนิคศึกษา ประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการจัดการเรียนการสอนในอาชีวศึกษา 
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือองค์ความรู้ต่อยอดจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน 
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม 
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ 
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้ 
3.3.2   วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย 
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเกี่ยวกับระบบการศึกษาของประเทศไทยและต่างประเทศ  การทำกิจกรรมการคิดอย่างเป็นระบบ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา 
4.2.3   การนำเสนอรายงาน 
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  
4.3.2   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข 
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room 
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุลคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCC802 ปรัชญาและหลักการอาชีวศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 11,21,2.5,2.10,2.13,3.1,3.5,3.8 บทที่ 1 - 3 4.4,5.1,6.1, 7.1, 8.1 บทที่ 4 – 8 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 9 14 17 10% 25% 10% 25%
2 1.4,1.6, 2.9,2.1,2.12 3.4 ,4.2,5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ทุกบทเรียน การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความ ตลอดภาคการศึกษา 10%
จันทิรา แก้วสูง. กรณีศึกษาความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัด การศึกษาระบบทิวภาคีของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรม  มหาบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 2542. 
เฉลียว บุรีภักดี. รูปแบบการพัฒนาครูช่างอุตสาหกรรมของประเทศไทย. รายงานการวิจัยและพัฒนาตามโครงการเงินกู้ธนาคารโลกเพื่อพัฒนาการศึกษาระยะที่ 6 (คพศ. 6) กรุงเทพฯ :  เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2531. 
ชนะ กสิภาร์. “นวัตกรรมการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมอาชีพเข้าสู่คุณวุฒิวิชาชีพ (ThaiVocational  Qualifications – TVQs).” วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา. ปีที่ 14 ฉบับที่ 41,มกราคม - มีนาคม 2545,  หน้า 3 – 20. 
ชนะ กสิภาร์. (2530).  หลักสูตรกับครูอาชีวะและเทคนิคศึกษาในอนาคต. ในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ  เพื่อวิเคราะห์และปรับปรุงหลักสูตร สาขาวิชาช่างกลเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา.            
สิริลักษณ์ หาญวัฒนานุกุล. “จากชีวิตการเรียนสู่ชีวิตการทำงาน.” วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา. ปีที่ 13 ฉบับ  ที่ 37 มกราคม – มีนาคม 2544, หน้า 3 – 9. 
พิเชษฐ ศรีพนม. การศึกษาปัญหาของผู้เรียนในระบบทวิภาคีของสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา.  วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกลบัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน  เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2542. 
บรรเลง ศรนิล และคณะ.รายงานการวิจัยเส้นทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี.กรุงเทพฯ : ห้าง  หุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ, 2548. 
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. รายงานผลการศึกษาความต้องการกำลังคนของกลุ่ม-อุตสาหกรรม.  กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด, 2549. 
อาชีวศึกษา, กรม. รายงานประจำปี 2543 – 2544 ครบรอบ 60 ปี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา-ลาดพร้าว,  2544. 
ธีรวุฒิ บุณยโสภณ. (2536).  การบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :                  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 
บรรเลง ศรนิล และคนอื่น ๆ . (2548). รายงานการวิจัยเส้นทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี.                  กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์. 
ปรัชญา เวสารัชช์, ศาสตราจารย์ ดร. มปป. ชุดฝึกอบรมผู้บริหาร : ประมวลสาระแนวคิดด้านการบริหาร                  จัดการอาชีวศึกษา. สังเคราะห์โดย นายอำนวย เถาตระกูล. 
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ และวิบูลย์ โตวณะบุตร. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ :                  มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วรภาส ประสมสุข และนิพนธ์ กินาวงศ์.  (2550).  หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม.                   วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 เดือนพฤศจิกายน 2549-มีนาคม 2550, 63 – 83. 
ศิริพงษ์ เศาภายน. (2548). หลักการบริหารการศึกษา : ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :                  บุ๊คพอยท์. กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.  (2549).  มาตรฐานการอาชีวศึกษา. พิมพ์ครั้ง                  ที่ 1. กรุงเทพฯ :  วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร 
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.  (2548).  อาชีวศึกษาพัฒนาชาติ : บทเรียนจากสหพันธ์สาธารณรัฐ                  เยอรมนี.  กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและแผนการศึกษา. 
ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์.  (2552).  การคิดอย่างเป็นระบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.                  สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 
สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2554).  การคิดอย่างเป็นระบบ.  ประชุมปฏิบัติการครู สพท. เขต                  3 สงขลา. สิงหาคม 2554. [เอกสารบรรยาย] 
อนงค์ วิเศษสุวรรณ์, ดร. (2549).  การคิด.  วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือน                  มิถุนายน 2549-ตุลาคม 2549, 17. 
ชนะ กสิภาร์. “คุณวุฒิวิชาชีพไทย (Thai Qualifications - TVQ).” ในเอกสารสรุปการสัมมนา  วิชาการ เรื่อง Qualifications and Skills จัดโดยนักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิจัยและพัฒนา  หลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ  ระหว่างวันที่10 – 12 กุมภาพันธ์ 2547 หน้า 1. 
ธีรวุฒิ บุณยโสภณ. การบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :  สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2536. 
บรรเลง ศรนิล และคณะ.รายงานการวิจัยเส้นทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี.  กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ, 2548. 
พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์. พัฒนาการด้านการศึกษาไทยในสมัยรัชกาลที่ 9. กรุงเทพมหานคร, 2540. 
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. “ ความร่วมมือจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา สาขา  ช่างอุตสาหกรรม ระหว่างกรมอาชีวศึกษากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  จัดโดยนักศึกษาปริญญาโท สาขาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์-  อุตสาหกรรม.” ในเอกสารประกอบการสัมมนา ในวันที่ 4 – 5 ตุลาคม 2544 หน้า 5 – 6.         ข้อมูลจากเว็บไซต์  http://www. onec.go.th/publication/48049/sara_48049.htm  http://www. onec.go.th/publication/49047/full49047.pdf       http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=558.0       http://www.kruinter.com/show.php?id_quiz=438&p=1  http://www.pbntc.ac.th/depart/vec.htm  http://www.thaiblogonline.com/sodpichai.blog?PostID=26443  http://www.twp.co.th/index.php/news/2009-05-04-05-55-13/202--25--2553  http://www.advisor.anamai.moph.go.th/think/theory.htm  http://www.acmerril.com/archives/74  http://www.bizexcenter.com  http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=pasawutt&month=08-09-2008&group=6&gblog=4  http://www.facebook.com/note.php?note_id=485286641735  http://www.gypzii.multiply.com/journal/item/27/27  http://www.gotoknow.org/blog/boonmo/114839  http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q3/article2005aug01p4.htm  http://www.oknation.net/blog/print.php?id=365536  http://www.sasdkmitl08.blogspot.com/2008/07/system-thinking.html  http://www.vcharkarn.com/vcafe/192336  http://www.geocities.com/Voed45/Ved_plan_1-5.pdf.  http://www.nsdv.go.th/industrial/competence/download/profchana.pdf. http://www.km8.excise.go.th/kmpak82/index.php?option=com_content&view=article&id=78:2011-02-                     16-09-22-07&catid=65:2011-02-16-06-47-48&Itemid=87  http://www.King60.mbu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=77&  Itemid=54&limit 1&limit start=14  Atkin, Julia, Dr. (1992).  Thinking: Critical for Learning. James Cook University of North Queensland                  Townsville Australia : Paper presented at the 5th International Conference on Thinking                  Exploring Human Potential. July 6-10, 1992.  Keesler, Venessa. (2006).  Critical Thinking Test in Sociology Complete Test Answer Key Item                   Development Manual.  Michigan State University : Doctoral Student, Measurement and                   Quantitative. 
คู่มือการบริหารและการปฏิบัติงาน ตามกรอบภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานอาชีวศึกษา พ.ศ. 2549 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอาชีวศึกษา  (พ.ศ. 2552 - 2561) 
พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ. 2546 
ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552 
ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการด้านการอาชีวศึกษา  พ.ศ. 2555
พัฒนชัย กุลสิริสวัสดิ์. ม.ป.ป. เครื่องมือการบริหารจัดการสมัยใหม่. กรรมการผู้จัดการ -กลุ่มบริษัท 
                 ชัยบูรณ์บราเดอร์ส. [เอกสารอัดสำเนา] 
วรกร สุพร. (2553). คู่มือการจัดการความรู้เรื่อง การสื่อสารภายในองค์กร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร 
                 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. [เอกสารอัดสำเนา] 
http://www.advisor.anamai.moph.go.th/think/objective.htm  http://www.conwood.co.th/th/about-us-core-value.asp  http://www.dou.us/  http://www.hrmeservice.com/th/page/1023  http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=201.0  http://www.kmlite.wordpress.com/2009/09/18/km-corner/  http://www.michelin.co.th/tha/Home/About-Michelin/Michelin-Group/Culture-and-Values  http://www.natthanont.com/archives/432  http://www.nics.ac.th/index.php/education-new/226-2011-04-21-01-30-19  http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_Method.htm  http://www.onec.go.th/onec_main/main.php  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104024&Ntype=7  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104573&Ntype=7  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539146349&Ntype=19  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104371&Ntype=28  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104361&Ntype=28  http://www.school.obec.go.th/krabipolicy/nanasara06.htm  http://www.siamsafety.com/index.php?page=moral/moral_korkid_09052009  http://www.siamsafety.com/index.php?page=moral/korkid_23112009&ps_session=27ed2c53975a33e71629d4094c0ab915  http://www.swhappinessss.blogspot.com/2010/11/blog-post_26.html  http://www.synaptic.co.th/developing_high_performance_teams_th.html  http://www.snc.lib.su.ac.th/snclibblog/?p=10890  http://www.thaitrainingcenter.net/redirect.php?tid=269&goto=lastpost  http://www.th.jobsdb.com/TH/EN/Resources/JobSeekerArticle/general_editor41.htm?ID=683  http://www.th.jobsdb.com/TH/EN/Resources/JobSeekerArticle/js-oct10-4.htm?ID=2002  http://www.tpqi.go.th/  http://www.trinity-consultant.com/home/des_article.php?id=4  http://www.variety.teenee.com/foodforbrain/5662.html  http://www.vec.go.th/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ