วัสดุวิศวกรรม

Engineering Materials

1.  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในโครงสร้างจุลภาคและมหภาค สมบัติและการทดสอบ  แผนภาพสมดุลเฟส กระบวนการผลิตและการใช้งานวัสดุในงานวิศวกรรมแต่ละชนิด ตามหัวข้อต่างๆ ในคำอธิบายรายวิชา 
2.  มีเจตคติที่ดีและใช้ความรู้ทางวัสดุวิศวกรรมในการเลือกใช้วัสดุในงานวิศวกรรมได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษาทางด้านวัสดุวิศวกรรม สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้วัสดุวิศวกรรม เช่น โลหะ โพลิเมอร์ พลาสติก ยางมะตอย ไม้คอนกรีต เซรามิก และวัสดุเชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปลความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมาย คุณสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ 
 -   อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงว่างของการเรียน 
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 1.1.1   มีวินัย ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  เคารพกฎระเบียบวินัยและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม              
 1.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1   อาจารย์เป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษา 
1.2.2   มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน 
1.2.3  สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ
1.3.1   ประเมินผลจากการเข้าเรียน 
1.3.2   ประเมินผลการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและตรงเวลา 
1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการตอบข้อซักถามและการยกตัวอย่างเปรียบเทียบใน ด้านการรักษากฎระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกันในสังคมองค์กรให้เห็นความมีคุณค่า มีเกียรติ รู้สึกภูมิใจในตนเองและสถาบัน
2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 
2.1.2   มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.2.1   บรรยายหลักการ ทฤษฎี ตามคำอธิบายรายวิชา อภิปรายระหว่างอาจารย์และนักศึกษา   
2.2.2   ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานวัสดุวิศวกรรมเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น 
2.2.3   มอบหมายงานเป็นกลุ่ม 
2.2.4   สรุปเนื้อหาบทเรียน
2.3.1   ตรวจแบบฝึกหัด ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบ
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.2.1 มอบหมายงาน 
3.2.2 เชิญวิทยากรมาบรรยาย
3.3.1 พิจารณาจากผลงานที่มอบหมาย 
3.3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
4.1.1  รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานที่มอบหมายทั้งบุคคลและกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะกับความรับผิดชอบ
4.2.1   มอบหมายงานให้ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม, รายบุคคล และมีการนำเสนองานแลกเปลี่ยน  ความคิดเห็น
4.3.1   ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย 
4.3.2   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียนและการนำเสนอผลงาน
5.1.1   สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.2.1   นำเสนอผลงานในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
5.2.2   อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน  โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
5.2.3   อธิบายวิธีการใช้เครื่องคำนวณในส่วนของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
5.3.1   ผลจากการประเมินการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 
5.3.2     ผลจากการสังเกตพฤติกรรม ในการอภิปรายกลุ่มโดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุลคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCC825 วัสดุวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 2.1.2 3.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 10 17 30% 30%
2 1.1.1 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.1.2 5.1.1 แบบฝึกหัดกลุ่ม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 3.1.2 4.1.1 5.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน ปลายภาคการศึกษา 15%
ณรงค์ศักดิ์ ธรรมโชติ, วัสดุวิศวกรรม, ซีเอ็ดยูเคชัน จำกัดมหาชน, 2552
ชุมพร ศฤงคารศิริ.  การวางแผนและควบคุมการผลิต.  พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2545.  มณฑล  ฉายอรุณ.  วัสดุอุตสาหกรรม.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตขอนแก่น.  มนัส  สถิรจินดา.  เหล็กหล่อ.   พิมพ์ครั้งที่ 2.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533.  แม้น  อมรสิทธิ์ และ สมชัย อัครทิวา.  วัสดุวิศวกรรม.   กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชั่น    แนลเอ็นเตอร์ไพรส์ อิงค์, 2544.  เสาวรจน์  ช่วยจุลจิตร์.  วัสดุศาสตร์มูลฐาน.  พิมพ์ครั้งที่ 2.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.  เอกสิทธิ์  นิสารัตนพร.  เอกสารประกอบการสัมนา.  http://www.qlickbranding.com/learn/chap7/03.html  http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/8/1/structure/course_outline3.html  http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0628/deformation-  coursewares.mju.ac.th:81/e-learning47/ea341/lesson4/ch04_3.pdf‎  www.ic.kmutnb.ac.th/webpage/.../sci-tech-intro-ASTM-keynote-2008.pd...  www2.lib.kmutt.ac.th/db_manual/online_db/astm.ppt‎    http://siamkaewkumsai.blogspot.com/2010/09/how-to-conduct-failure-analysis.html  http://siamkaewkumsai.blogspot.com/2009/08/blog-post_21.html  http://www.saha9.co.th/FAQ.htm  http://www.mtec.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=166&Itemid=178  http://www.trachang.co.th/Product/143/145/  http://www.trachang.co.th/Product/  http://www.sherasolution.com/th/trader/products/application/floorapplication/series/29339/info/132/  http://www.thaiwoodcentral.com/    http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php?book=3&chap=6&page=t3-6-infodetail03.html     http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/metalswu/lesson2-30.htm  http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/284/extra1/transparency/6/glass_files/frame.htm               http://www.mne.eng.psu.ac.th/knowledge/student/BOY/mechanical.htm  http://www.mne.eng.psu.ac.th/knowledge/student/BOY/PROPERTY.HTM
ไม่มี
ตำราหรือเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุวิศวกรรม, engineering materials เช่น 
แม้น  อมรสิทธิ์, สมชัย อัครทิวา, วัสดุวิศวกรรม, สำนักพิมพ์ท้อป, 2545 Askeland, Donald R., and Phulé, Pradeep P., The Science and Engineering of Materials, 4th     
Edition, Thomson Learning, Inc., USA, 2003 
Callister, Jr. William D., Materials Science and Engineering an Introduction, 6th Edition, 
John Wiley & Sons, Inc., USA, 2003 
Smith, William F., Principles of Materials Science and Engineering, 3th Edition, McGraw-Hill, Inc., USA, 1996 http://th.wikiepdie.org.
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
- การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- ประเมินผลโดยคณะวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตาม PM-14 
- อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการสอนของตนเองโดยดูพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา
- ประชุมผู้สอนเทอมละ 1 ครั้ง เพื่อสรุปประเด็นปัญหาเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน 
- การวิจัยในชั้นเรียน
- อาจารย์มีการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมในการให้คะแนน 
- มีการทวนสอบการให้คะแนนในข้อสอบ รายงาน โดยอาจารย์ท่านอื่นที่สอนในรายวิชาเดียวกัน 
- จัดทำคลังข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ 
- ทำการวิเคราะห์ข้อสอบเพื่อหาค่าความยากง่าย