คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและการผลิต

Computer Aided Design and Manufacturing

หลังจากเรียนวิชานี้แล้วนักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้ รู้และเข้าใจปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้าง และหลักการทำงานของเครื่อง ซี เอ็น ซี ระบบแนวแกน ระบบศูนย์งาน ศูนย์เครื่อง ศูนย์โปรแกรม เครื่องมือและอุปกรณ์ในเครื่องมือกลซีเอ็นซี โครงสร้างโปรแกรม G-code และ M- Code เขียนโปรแกรม ทดสอบโปรแกรมในงานกลึง งานกัด การตรวจสอบด้วยโปรแกรม Simulation หรือเครื่อง CNC การปรับแต่งตั้งศูนย์มีด ปรับแต่งตั้งศูนย์งาน ปรับแก้โปรแกรม และปรับขนาดงาน การใช้โปรแกรม CAD – CAM 2 มิติ และ 3 มิติ สร้าง Solid Modeling ด้วยคาสั่งพื้นฐาน    การแก้ไข การทำ Drawing ทำภาพประกอบ (Assembly) ทำรายการวัสดุ (Bill of Material) ทำภาพฉาย ภาพช่วย ภาพรายละเอียดเฉพาะตำแหน่งการพิมพ์ภาพ ทาโปรแกรม NC งานกัด 2 มิติ 3 มิติ
2.1  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทางานของเครื่อง ซี เอ็น ซี 
2.2  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับระบบแนวแกน ระบบศูนย์งาน ศูนย์เครื่อง ศูนย์โปรแกรม
2.3  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ในเครื่องมือกลซีเอ็นซี
2.4  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างโปรแกรม G-code และ M- Code
2.5  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเขียนโปรแกรมทดสอบโปรแกรมในงานกลึง งานกัด
2.6  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการตรวจสอบด้วยโปรแกรม Simulation 
2.7  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเครื่อง CNC การปรับแต่งตั้งศูนย์มีด 
2.8  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับปรับแต่งตั้งศูนย์งาน ปรับแก้โปรแกรม และปรับขนาดงาน
2.9  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม CAD – CAM 2 มิติ และ 3 มิติ 
2.10  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสร้าง Solid Modeling ด้วยคาสั่งพื้นฐาน    
2.11  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการแก้ไข การทำ Drawing ทาภาพประกอบ (Assembly) 
2.12  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับทำรายการวัสดุ (Bill of Material) ทำภาพฉาย ภาพช่วย 
2.13  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับภาพรายละเอียดเฉพาะตำแหน่งการพิมพ์ภาพ 
2.14  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับทำโปรแกรม NC งานกัด 2 มิติ 3 มิติ
 
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการทำงานและโครงสร้างของโปรแกรม CAD-CAM การสร้างชิ้นงาน 2 มิติ และ 3 มิติ ด้วยคำสั่งในการสร้างวัตถุ ปรับปรุงแก้ไขวัตถุ การกำหนดเครื่องมือตัดและสร้างทางเดินเครื่องมือตัดสำหรับงานกัด 2 มิติและ 3 มิติ ในลักษณะต่างๆ เช่น Face, Contour, Pocket, Drill เป็นต้น การกำหนดเครื่องมือตัดและสร้างทางเดินเครื่องมือตัดสำหรับงานกลึง 2 มิติและ 3 มิติ ในลักษณะต่าง ๆ เช่น Face, Turning, Drill, Groove, Thread เป็นต้น จำลองสถานการณ์และตรวจสอบการทำงานของเครื่องมือตัด สร้างและแก้ไขโปรแกรม NC-Code สำหรับงานกัดและงานกลึง
สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง
1. แสดงออกซี่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
2. สามารถจัดการและคิดแล้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู
3. แสดงออกซี่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี
4. เคารพสิทธิและรับฟิงความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและคักดี้ศรี ของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกตัวอย่างให้เห็นหน้าที่ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม 
2. สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย เคารพระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ การเป็นผู้ฟังที่ดี เป็นต้น 
3. ปลูกฝังให้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ กำหนดบทลงโทษ และผลกระทบต่อตนเอง สังคม จากพฤติกรรมดังกล่าว
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
2. สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น
1. มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพเฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่ เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
3. สามารถนำหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
1. บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 
2. ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ไปค้นคว้า
1. มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแล้ปัญหาที่มีความ สลับซับซ้อนในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนา นวัตกรรม
2. มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบด้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และสรุป ประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
1. การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แล้วนำเสนอผลงาน 
2. อภิปรายกลุ่ม 
3. วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม 
4. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้ 
2. วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย 
3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1. แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิ ภาวะทางอารมณ์
2. แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการแกไขสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อ ตนเองและส่วนรวม
3. สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือ และเอื้อต่อการแกไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ ได้อย่างเหมาะสม
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้การศึกษางาน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา 
3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 
2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1. มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่ เป็นตัวเลขเซิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทำให้สามารถ เช้าใจองค์ความรู้หรือประเด็นป้ญหาได้อย่างรวดเร็ว
2. สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบด้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและ ประยุกติใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแกไฃปีญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถสนทนา เขียน และนำเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 
2. นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1. แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพ เฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์
2. แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอน รวมถึง ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของ กลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมีนวัตกรรม
1. นำความรู้ไปใช้สนับสนุนการทำโครงงานของนักศึกษา 
2. การออกไปปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
1. ประเมินจากความสำเร็จของโครงงานนักศึกษา 
2. ประเมินจากการออกไปปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2
1 TEDIE929 คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและการผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.3, 1.4, 2.1-2.5, 3.1-3.5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 30% 30%
2 2.1-2.5, 3.1-3.5, 5.1-5.3, 6.1,6.2 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย การนำเสนอวัสดุช่วยสอน ตลอดภาค การศึกษา 30%
3 1.1-1.5, 4.1-4.5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรม ตลอดภาค การศึกษา 10%
- โปรแกรม NC เบื้องต้น - โปรแกรม Solidwork
-
-
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3. และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4. 
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ