ปฏิบัติการโรงงาน

Workshop

เพื่อให้นักศึกษาศึกษาหลักการ และเข้าใจกระบวนการและขั้นตอนในการทำเฟอร์นิเจอร์ งานไม้ งานโลหะและงานวัสดุอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมภายใน รวมการใช้เครื่องมือในการทำงานเฟอร์นิเจอร์ได้อย่างถูกต้อง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการทำงานเฟอร์นิเจอร์จริง เพื่อสามารถเอาไปปรับใช้ในการทำงานจริงได้ในอนาคต
       ศึกษาและฝึกปฏิบัติการทำเฟอร์นิเจอร์ในงานไม้  งานโลหะ และวัสดุอื่นๆ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์พฤติกรรมของนักศึกษาภายในชั้นเรียน มอบหมายงานให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานภายในห้องร่วมกันเป็นกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการสอบวัดประเมินผล
2.1.1.  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2.  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3.  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยายพร้อมวิธีการการทำงาน นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามหัวข้อที่ได้บรรยาย
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน
2.3.3 วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล
3.1.1.  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2.  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์งานนิทรรศการที่ได้มอบหมายให้ตามหัวข้อ นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามหัวข้อที่ได้บรรยาย
3.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.3.2  วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน
3.3.3 วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์งานนิทรรศการที่ได้มอบหมายให้ตามหัวข้อ นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามหัวข้อที่ได้บรรยาย
4.3.1 ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย
4.3.2  ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
4.3.3 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.4  การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง
 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.1  บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์งานนิทรรศการที่ได้มอบหมายให้ตามหัวข้อ
5.2.2  นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน
5.2.3  กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามหัวข้อที่ได้บรรยาย
5.3.1  ประเมิน ด้วยการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลาย
5.3.2  ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
5.3.3  ประเมินผลงาน   การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์ระบบโครงสร้าง
5.3.4  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 สามารถปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมอย่างบูรณาการ  เป็นองค์รวมโดยประยุกต์ใช้ศาสตร์และศิลปะสถาปัตยกรรม รวมทั้งใช้กระบวนการวิชาชีพสถาปัตยกรรม  และการนำเสนอผลงานและติดต่อประสานงานกับสาขาวิชาชีพ   หน่วยงาน  บุคคลที่เกี่ยวข้อง
6.1.2   สามารถปฏิบัติการออกแบบเขียนแบบ  การควบคุมการก่อสร้าง  การประมาณการเบื้องต้นแก่ผู้ใช้บริการตาม พรบ. สถาปนิก 2543
6.1.3  ปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพสถาปัตยกรรม
6.1.4  ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ดีและทันต่อกระแสของโลก
6.1.5   แสดงภาวะผู้นำในการปฏิบัติงาน  สามารถทำงานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2.1   ยกตัวอย่างงานที่ได้รวบรวมเสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้วพร้อมทั้งอธิบายถึงวิธีการและหลักการในการจัดนิทรรศการที่ถูกต้องและเหมาะสมตามพื้นที่
6.2.2   อธิบายถึงวิธีการพร้อมทั้งยกตัวอย่างและปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่างแก่นักศึกษา ให้ทราบถึงวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง
6.3.1   ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติ
6.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3
1 42022309 ปฏิบัติการโรงงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 - ความสนใจในการเรียน และลักษณะนิสัยในการทำงาน - การทำรายงานการศึกษาค้นคว้าพิเศษทางสื่ออีเล็กทรอนิกส์ - ประเมินจากระดับผลงานที่ปฏิบัติในแต่ละใบงานที่กำหนด - ความสมบูรณ์ของแผนการผลิตชิ้นงาน ละความเหมาะสมในการเลือกใช้เครื่องมือในการผลิต - ความสมบูรณ์ของชิ้นงานขึ้นรูป เช่น สัดส่วน ขนาด ผิวชิ้นงาน เป็นต้น - ประเมินจากความถูกต้องของขนาด และสัดส่วนของชิ้นงานที่นักศึกษากำหนด ตลอดภาคการศึกษา 70%
2 1-6 ประเมินจากผลการทดสอบ สัปดาห์ที่ 9,17 30%
ประณต กุลประสูตร. (2557). เทคโนโลยีเครื่องจักรกลงานไม้. (พิมพ์ครั ้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ บริษัท ธนาเพรส จำกัด
ศิระ จนั ทร์สวาสดิ์, ศานิต ปันเขื่อนขตัิย์และสพุ ตัร์ศรีพงษ์สทุ ธิ์. (2550). คู่มือช่างในบ้าน ช่างไม้ในบ้าน. (พิมพ์ครั ้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร : บ้านและสวน. ส านักพิมพ์ สายธุรกิจโรงพิมพ์ บริษัทอมรินทร์พริ ้นติ ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2550). นวัตกรรมเทคโนโลยีงานไม้. (พิมพ์ครั ้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร
ประณต กุลประสูตร. (2557). เทคนิคงานไม้. (พิมพ์ครั ้งที่ 18). กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกียรติศกัดิ์จนั ทร์แดง. (2549). การบริหาร การผลิตและการปฏิบัติการ. (พิมพ์ครั ้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ วิตตี ้กรุ๊ป
บรรหาร ลิลา. (2553). การวางแผนและควบคุมการผลิต. กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ท้อป จ ากัด
บุญธรรม ภัทราจารุกุล. (2556). ความปลอดภัยในงานอาชีพ. (พิมพ์ครั ้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จ ากัด (มหาชน)
บุญธรรม ภัทราจารุกุล. (2543). มาตรฐานการปฏิบัติงาน เพื่อความปลอดภัย. (พิมพ์ครั ้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่ น)
-
-
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ได้ทำการจัดกิจกรรมเพื่อนำเสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิผลของรายวิชา ดังนี้
          1.  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา
          2.  การให้นักศึกษาเสนอข้อคิดเห็นต่างๆเพื่อเพิ่มประสิทธิผลของการประเมิน
          3.  ผู้สอนและนักศึกษาร่วมกันอภิปรายเกณฑ์ และข้อกำหนดต่างๆในการประเมินผล
          4.  ร่วมกันสังเคราะห์และปรับปรุงวิธีการ เกณฑ์ และเครื่องมือในการประเมินผลร่วมกันระหว่างผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ และนักศึกษา
ใช้การสร้างเครื่องมือในการประเมินผลการสอนที่หลากหลาย กำหนดสถานการณ์ในการประเมินผลการสอนที่เหมาะสมกับสภาวการณ์ของผู้เรียน
ร่วมกันสังเคราะห์และปรับปรุงวิธีการสอนร่วมกันระหว่างผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ และนักศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล
การทบสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา อาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลต่อกระบวนการจัดการเรียนการสอน การทวนสอบทั้งกระบวนการ ผลลัพธ์และผลสัมฤทธิ์เพื่อยืนยันว่าผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ผลการประเมินการสอนนั้นมีความน่าเชื่อถือ การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาของนักศึกษา ดำเนินการทุครั้งที่มีการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานี้

ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัย ได้แก่ การเข้าเรียน และการสังเกต   พฤติกรรรม)  โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในหน่วยการเรียนที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้เรียนและนักศึกษาร่วมกันทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้น มีการตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน
ปรับปรุงเนื้อหาและกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในทุกๆภาคเรียนที่มีการจัดการเรียนการสอน หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบตามมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ในข้อที่ 4 ปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาตามข้อสรุปผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน