เคลือบผิวเครื่องเรือน

Furniture Surface Coating

มีความรู้ และเข้าใจในหลักการรวมไปถึงทฤษฎีการปฏิบัติการเกี่ยวกับการเครื่องผิวเครื่องเรือน มีทักษะในทางปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องผิวเครื่องเรือน สามารถประยุกต์ใช้หลักการและทฤษฎีทางเครื่องผิวเครื่องเรือน  อย่างเหมาะสมกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ สามารถผลิตผลงานต่างๆ ที่ใช้ทฤษฎีและหลักปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องผิวเครื่องเรือน  เห็นความสำคัญต่อการนำหลักการเกี่ยวกับเครื่องผิวเครื่องเรือน  มาใช้ในการผลิตเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตทางด้านเครื่องเรือน
เพื่อให้เนื้อหาในรายวิชาปฏิบัติการเทคโนโลยีพื้นฐานการผลิตมีความสอดคล้องกับสภาพของเทคโนโลยีการผลิตที่ปรับเปลี่ยนไป และเพื่อทำให้สามารถที่มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในส่วนของการปฏิบัติการที่ทำให้เกิดการนำไปประยุกต์ใช้ในการผลิตที่มีประสิทธิภาพต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเคลือบผิวประเภทต่างๆ เทคนิค และกรรมวิธีการเคลือบผิว วัสดุและอุปกรณ์ในงานเคลือบผิว การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพ  การป้องกันและแก้ไขความเสียหายที่เกิดกับการเคลือบผิว
ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษา โดยการใช้ช่วงเวลาหลังจากการเรียนการสอน เป็นเวลา 15 นาที และให้นักศึกษาติดต่ออาจารย์ผู้สอน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.14 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
อธิบายถึงความสำคัญของการมาเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอของนักศึกษา อธิบายถึงการกำหนดระยะเวลาการเรียนต่อสัปดาห์ต่อภาคการศึกษา
การให้คะแนนนักศึกษาในการมาเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ การให้คะแนนนักศึกษาในการมาเข้าเรียนตามระยะเวลาที่กำหนดต่อภาคการศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
การสอนแบบอธิบายความเข้าใจ  เอกสารประกอบการสอน เนื้อหาจากเอกสารที่ได้รับ การฝึกปฏิบัติจากการลงมือทำจริง การผลิตเครื่องเรือน
                        2.3.1  การให้คะแนนจากการฝึกทักษะการปฏิบัติจากเครื่องมือ  เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ์
                        2.3.2  การให้คะแนนจากการฝึกปฏิบัติจริง ด้วยความปลอดภัย
                        2.3.3  การให้คะแนนจากผลงานชิ้นงานที่นักศึกษาได้ดำเนินการ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักรกลงานไม้ทุกครั้งก่อนการลงมือปฏิบัติงานจริง
การให้คะแนนการตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักรกลงานไม้ทุกครั้งก่อนการลงมือปฏิบัติงานจริง
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 การปฏิบัติการผลิตชิ้นงานที่มอบหมายให้นักศึกษา ตามขั้นตอนการผลิตชิ้นงานเครื่องเรือน
4.2.2 การใช้เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุและอุปกรณ์
การตรวจให้คะแนนผลงานชิ้นงานที่มอบหมายให้นักศึกษา แต่ละคนตามขั้นตอนที่ได้กำหนดไว้ก่อนการปฏิบัติงาน จนถึงได้ผลงานชิ้นงานสำเร็จ
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาข้อมูลจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
ประเมินผลจากผลงานที่ให้ไปค้นคว้าและรายงานที่ได้รับมอบหมาย
    6.1.1  สามารถออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
    6.1.2  สารารถสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
    6.1.3  สามารถออกแบบโดยใช้ทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
6.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบและนำเสนองานออกแบบให้เหมาะสมกับการเคลือบผิว
6.2.2   ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานเครื่องเรือน
6.2.3   มอบหมายให้นักศึกษาผลิตชิ้นงานและทำการเคลือบผิวเครื่องเรือนแบบต่างๆ
ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย ตามกระบวนการปฏิบัติงานเคลือบผิวเครื่องเรือน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 43022053 เคลือบผิวเครื่องเรือน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 - ความสนใจในการเรียน และลักษณะนิสัยในการทำงาน - การทำรายงานการศึกษาค้นคว้าพิเศษทางสื่ออีเล็กทรอนิกส์ - ประเมินจากระดับผลงานที่ปฏิบัติในแต่ละใบงานที่กำหนด - ความสมบูรณ์ของแผนการผลิตชิ้นงาน ละความเหมาะสมในการเลือกใช้เครื่องมือในการผลิต - ความสมบูรณ์ของชิ้นงานขึ้นรูป เช่น สัดส่วน ขนาด ผิวชิ้นงาน เป็นต้น - ประเมินจากความถูกต้องของขนาด และสัดส่วนของชิ้นงานที่นักศึกษากำหนด ตลอดภาคการศึกษา 70%
2 1-6 ประเมินจากผลการทดสอบ สัปดาห์ที่ 9,17 30%
ดำเนิน  คงพาลา. (2550). เทคโนโลยีงานสี. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์  ส.ส.ท.
ปนันดา  นิรนาทล้ำพงศ์  และคณะ.  (2545).  การสึกหรอ  :  ความรู้เบื้ยงต้นและการป้องกัน.  กรุงเทพมหานคร  :  ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ  กระทรวงวิทยาศาสตร์  เทคโนฌลยีและสิ่งแวดล้อม.
ศุภโชค  วิริยโกศล.  (2532).  กระบวนการขัดและแต่งผิว.  (พิมพ์ครั้งที่ 4).  สงขลา  :  ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ  คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตหาดใหญ่.
เสาวรสน์  ช่วยจุลจิตน์.  (2543).  วัสดุศาสตร์มูลฐาน.  กรุงเทพมหานคร  :  ภาควิชาวัสดุศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรอุษา  สรวารี.  (2544).  สารเคลือบผิว (สี วาร์นิช และแลกเกอร์).  (พิมพ์ครั้งที่ 2).  กรุงเทพมหานคร :  ภาควิชาวัสดุศาสตร์  คณะวิทยาศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ได้ทำการจัดกิจกรรมเพื่อนำเสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิผลของรายวิชา ดังนี้
          1.  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา
          2.  การให้นักศึกษาเสนอข้อคิดเห็นต่างๆเพื่อเพิ่มประสิทธิผลของการประเมิน
          3.  ผู้สอนและนักศึกษาร่วมกันอภิปรายเกณฑ์ และข้อกำหนดต่างๆในการประเมินผล
          4.  ร่วมกันสังเคราะห์และปรับปรุงวิธีการ เกณฑ์ และเครื่องมือในการประเมินผลร่วมกันระหว่างผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ และนักศึกษา
ใช้การสร้างเครื่องมือในการประเมินผลการสอนที่หลากหลาย กำหนดสถานการณ์ในการประเมินผลการสอนที่เหมาะสมกับสภาวการณ์ของผู้เรียน
ร่วมกันสังเคราะห์และปรับปรุงวิธีการสอนร่วมกันระหว่างผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ และนักศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล
การทบสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา อาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลต่อกระบวนการจัดการเรียนการสอน การทวนสอบทั้งกระบวนการ ผลลัพธ์และผลสัมฤทธิ์เพื่อยืนยันว่าผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ผลการประเมินการสอนนั้นมีความน่าเชื่อถือ การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาของนักศึกษา ดำเนินการทุครั้งที่มีการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานี้

ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัย ได้แก่ การเข้าเรียน และการสังเกต   พฤติกรรรม)  โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในหน่วยการเรียนที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้เรียนและนักศึกษาร่วมกันทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้น มีการตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน
ปรับปรุงเนื้อหาและกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในทุกๆภาคเรียนที่มีการจัดการเรียนการสอน หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบตามมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ในข้อที่ 4 ปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาตามข้อสรุปผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน