สหกิจศึกษาทางสัตวศาสตร์

Cooperative Education in Animal Science

1.1 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพของตนเอง รู้จักศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ที่เหมาะสมสำหรับการประกอบอาชีพให้มีความก้าวหน้า และรู้จักปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์
1.2 สามารถนำความรู้ ทักษะในสาขาวิชาชีพไปประยุกต์ใช้ในการทำงานในสถานประกอบการจริง
1.3 สามารถศึกษา วิเคราะห์ วางแผน และปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายได้
1.4 สามารถเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กรได้ รู้จักการเป็นผู้นำ/ผู้ตามที่ดี ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ด้วยความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบ
1.5 มีทักษะในการสื่อสารที่ดี รู้จักนำความรู้ ทักษะทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์
เพื่อให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษามาทั้งหมด ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานทางด้านการเกษตร เป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ โดยให้ผู้เรียนมีเวลามากพอสำหรับการเรียนรู้ทักษะในการปฏิบัติงานจากผู้ที่ความรู้และประสบการณ์โดยตรง ตลอดจนการศึกษาระบบการทำงาน การเรียนรู้วัฒนธรรมและค่านิยมขององค์กร
การปฏิบัติงานจริงเสมือนหนึ่งพนักงานในสถานประกอบการ ที่ดำเนินงานด้านสัตวศาสตร์เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ นักศึกษาต้องผ่านการเตรียมอบรมความพร้อมก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ต้องจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และนำเสนอผลงานในงานสัมมนาระหว่างนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา หรืออาจารย์นิเทศ หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานแล้ว การประเมินผลในรายวิชาเป็นระดับคะแนนพอใจ(S) และไม่พอใจ (U)
-
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
2.การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3.การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.แฟ้มสะสมงาน
3.การเขียนบันทึก
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของงานสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1.การสอนแบบฝึกภาคสนาม
2.การสอนแบบสาธิต
3.การเรียนการสอนแบบบูรณาการ
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มานคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.การเรียนการสอนแบบบูรณา
2.การสอนแบบฝึกภาคสนาม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.การสัมภาษณ์
4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.การสอนแบบฝึกภาคสนาม
2.การสอนแบบกรณีศึกษา
(Case Studies)
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
1.สถานการณ์จำลอง
2.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
3.การสังเกต
4.การสัมภาษณ์
5.โครงการกลุ่ม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
2.การสอนแบบการศึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Study)
3.การสอนแบบสัมมนา
.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
3.การนำเสนองาน
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติ เป็นธรรมชาติ
การสอนแบบฝึกภาคสนาม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสัมภาษณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิศัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของงานสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มานคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติ เป็นธรรมชาติ
1 23029405 สหกิจศึกษาทางสัตวศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3 2.1, 2.2, 2.3 3.1, 3.2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 5.2 6.1, 6.2 1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง .แฟ้มสะสมงาน 2.การเขียนบันทึก 3..โครงการกลุ่ม 4.การสังเกต 5.การสัมภาษณ์ผู้ควบคุมการฝึกงาน ทุกสัปดาห์ 70%
2 1.1, 1.4 4.1, 4.2, 4.3 1.การสัมภาษณ์ผู้ควบคุมการฝึกงาน/เจ้าของสถานกประกอบการ 2.การประเมินโดยเพื่อน สัปดาห์ที่8 และ17(นิเทศการฝึกงาน) 20%
3 1.1, 1.2, 1.3 5.1, 5.2, 5.3 1. แฟ้มสะสมงาน 2. การเขียนบันทึก 3. โครงการกลุ่ม 4. การนำเสนองาน 5. โครงการกลุ่ม 17 10
คู่มือสหกิศึกษา
หนังสือและเอกสารด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
เวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
หนังสือและเอกสารด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
เวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
หนังสือและเอกสารด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
เวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับงานทีนักศึกษาเลือกไปฝึกงาน
1.นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรม สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ตามแบบสอบถามของมหาวิทยาลัย
2.การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมและการสนทนาระหว่างนักศึกษาในกลุ่มที่ออกฝึกงานที่เดียวกัน
1.พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาตามแบบที่กำหนดของการศึกษาสหกิจศึกษา การให้ข้อเสนอแนะแก่นักศึกษาในระหว่างนำเสนอผลการปฏิบัติงาน/กรณีศึกษา รวมถึงการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะร่วมกับอาจารย์นิเทศ
2. อาจารย์ที่ปรึกษากรณีศึกษา บันทึกการขอคำปรึกษาจากนักศึกษา และให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
3. แจกแบบสอบถาม(ความพึงพอใจ/ข้อเสนอแนะฯลฯ) ให้กับนักศึกษา,พี่เลี้ยงหรือสถานประกอบการตอบตามความจริง
 
 
1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ประมวลผลการฝึกงานของนักศึกษาทุกๆด้าน จากผู้มีส่วนร่วมในการฝึกงานของนักศึกษา รายงานต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร/ประธานหลักสูตร/หัวหน้าสาขาวิชาเพื่อทราบ
2. นำเสนอจากการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากอาจารย์นิเทศกับสถานประกอบการ, ข้อมูล, ภาพรวมของการดำเนินงาน จุดแข็ง จุดอ่อนของสถานประกอบการต่างๆ เสนอคณะกรรมการหลักสูตร และนำแสดงไว้ในรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร
3. ประชุมหลักสูตรหรือภาควิชา ร่วมกันพิจารณานำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงสำหรับใช้ในรอบปีการศึกษาต่อๆไป
 
ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบเล่มรายงานการฝึกภาคสนาม  ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการหรือตัวแทน
 
พิจารณาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 3-4