การจัดการของเสียจากสัตว์

Animal Waste Management

1.1 รู้คุณสมบัติของเสียจากสัตว์และผลกระทบของของเสียจากสัตว์ต่อสิ่งแวดล้อม 1.2 เข้าใจการจัดการและการนำของเสียจากสัตว์มาใช้ประโยชน์ 1.3 เข้าใจการผลิตแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์
1.4 มีจิตสำนึกในการรักษาสภาพแวดล้อมและรับผิดชอบสังคม
เพื่อจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการความรู้ทางทฤษฎีนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติด้านการเลี้ยงสัตว์ มีการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสัตว์ ณ ปัจจุบัน และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับคุณสมบัติของของเสียจากสัตว์ มลภาวะจากของเสียจากสัตว์และแนวทางในการแก้ไข การจัดการ และการนำของเสียมาใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ การผลิตพลังงานทดแทนจากของเสียจากสัตว์ ปัญหาที่เกิดจากของเสียจากสัตว์ และแนวทางในการแก้ไข การลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
- อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาตามตารางผู้สอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างเหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆมาทำรายงานนั้นต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
1. บันทึกการกระทำทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้านหรือการมีส่วนรวมทำงานที่มอบหมายในกลุ่ม
2. การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
3. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
4. การประเมินผลงาน (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียนว่ามีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้อง และเหมาะสม  มีการคัดลอกรายงานของนักศึกษาผู้อื่น
2.1.1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- บรรยายประกอบสื่อการสอน
- การอภิปรายกลุ่ม โดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และนำเสนอรายงาน
- มอบหมายให้อ่านข้อมูลทางสื่อไร้สาย หรือวารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียจากสัตว์
1. การทดสอบย่อยแต่ละหน่วยเรียน 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่มอบหมาย
นักศึกษาต้องคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้                       3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ                         3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
 - มอบหมายหัวข้อรายงาน และให้นำเสนอพร้อมอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันโดยให้นักศึกษามีกระบวนการคิด วิเคราะห์ การวางแผน และการจัดการ ให้เชื่อมโยงกับหลักการหรือปฏิบัติ
- การสังเกตพฤติกรรม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินจากคำตอบ และข้อคิดเห็น
- ข้อสอบ โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา
ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอ
4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การอภิปรายกลุ่ม โดยการกำหนดหัวข้อที่เป็นประเด็นการผลิตสัตว์ที่กระทบต่อสังคม มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม และนำเสนอรายงาน
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินจากเอกสารรายงาน และการนำเสนอว่าสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม  ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 - ให้นักศึกษาสืบค้น โดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติม และจัดทำรายงาน
- การนำเสนอรายงาน ให้นักศึกษานำเสนอโดยเลือกใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- การประเมินผลงานรายบุคคล (เอกสารรายงาน) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นเอกสารรายงานของผู้เรียน
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การสอนแบบกรณีศึกษา  
    (Case Studies)
2. การสอนแบบสถานการณ์
    จำลอง (Simulation)  
3. การสอนแบบ  Problem
    Based Learning    
1. สถานการณ์จำลอง
2. การนำเสนองาน
3. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills) 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 23024312 การจัดการของเสียจากสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 2.1.2,2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 4.1.4 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 ผลงาน /รายงาน/การทำงานกลุ่ม/การศึกษาอิสระ/งานในห้องปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ 30%
2 1.1.3, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.3 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 นำเสนองานเป็นกลุ่มโดยนักศึกษา พฤติกรรมต่างๆ เช่น การร่วมอภิปราย การตอบคำถาม เป็นต้น 2 10%
3 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4, 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.3 การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ คุณธรรม และจริยธรรม ทุกสัปดาห์ 10%
4 1.1.1, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ทดสอบแต่ละหน่วยเรียน หรือสอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,18 50%
เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์.2539. การบำบัดน้ำเสีย มิตรนราการพิมพ์ กรุงเทพมหานคร, 442 หน้า
กรรณิการ์ สิริสิงห ,2549.เคมีของน้ำ น้ำโสโครกและการวิเคราะห์ พิมพ์ครั้งที่ 4คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร ,377 หน้า
ธีระ เกรอต,2539.วิศวกรรมน้ำเสีย การบำบัดทางชีวภาพ สำนักพิมพ์จุฬาลงกณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร, 606 หน้า
ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ . 2550. การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาคปศุสัตว์.ทิพเนตร์การพิมพ์.กรุงเทพมหานคร.779 หน้า
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์,2545 .คู่มือวิเคราะห์น้ำและน้ำเสีย กรุงเทพมหานคร, 243 หน้า
สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์ ,2549.ระบบบำบัดน้ำเสีย ,สำนักพิมพ์ท้อป,กรุงเทพมหานคร,544 หน้า
อรไท สุขเจริญ ,2547,ระบบกำจัดของเสีย สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง กรุงเทพมหานคร,
228 หน้า
-ข้อมูลต่างๆที่น่าสนใจคันคว้าทางอินเทอร์เน็ต
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
-การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
-ผลการทดสอบ
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยในชั้นเรียน
-ทวนจากคะแนนสอบ และรายงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น