เครื่องมือวัดและทดสอบรถยนต์

Vehicle Instrument and Testing

1. มีทักษะในการใช้เครื่องตรวจสภาพรถยนต์  2. มีทักษะในการแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องรถยนต์  3. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจจิเคราะห์ระบบไฟฟ้ารถยนต์  4. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์ระบบอิเล็กทรอนิกส์ในรถยนต์  5. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์ระบบส่งกำลังในรถยนต์  6. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์ระบบเบรกในรถยนต์  7. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์ระบบรองรับน้ำหนักในรถยนต์  8. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์เครื่องยนต์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ตามมาตรฐานสากล  9. ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาเครื่องมือวัดและทดสอบรถยนต์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในการแก้ไขปัญหาและข้อขัดข้องด้วยเครื่องมือและเครื่องวิเคราะห์มีทักษะในการใช้และทดสอบระบบไฟฟ้าระบบอิเล็กทรอนิกส์ระบบส่งกำลังระบบเบรกระบบรองรับน้ำหนัก Tune-up เครื่องยนต์แก๊สโซลีนและดีเซลด้วยเครื่องมือและเครื่องทดสอบที่ทันสมัย
ศึกษาและปฏิบัติงานในการแก้ไขด้วยเครื่องมือและเครื่องวิเคราะห์ให้มีทักษะในการใช้และทดสอบระบบไฟฟ้า ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบส่งกำลัง ระบบเบรก ระบบรองรับน้ำหนัก Tune-up เครื่องยนต์แก๊สโซลีนและดีเซลด้วยเครื่องมือและสร้างทดสอบที่ทันสมัย
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพัก   -   อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆกับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมดังนี้  1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม  1.1.2 จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ  1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2 วิธีการสอน
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม  1.2.2 สอบแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม  1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคมทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม  1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัยการตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด  1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย  1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม  1.2.7 ปลูกฝังการยาบรรณวิชาชีพ
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม  1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ  1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมายที่สะท้อนถึงความตั้งใจความรับผิดชอบของนักศึกษา  1.3.5 การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในด้านการใช้เครื่องมือวัดและทดสอบยานยนต์       2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของรถยนต์สมัยใหม่       2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กูปิดตากับความรู้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2 วิธีการสอน
2.2.1 ผู้สอนอธิบายหลักการทางทฤษฎีและสาธิตการปฏิบัติงาน       2.2.2 นักศึกษาฝึกงานปฏิบัติงานในสถานศึกษา       2.2.3 เขียนรายงานการปฏิบัติงาน       2.2.4 สรุปผลการปฏิบัติการสอน
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 การทดสอบย่อย  2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ  2.3.4 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ  3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์  3.2.2 การมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสาร
 
3.3 วิธีการประเมินผล
   3.3.1 สอบปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงาน     3.3.2 ประเมินผลจากการปฏิบัติงาน     3.3.3 วัดผลจากการประเมินจากรายงานการนำเสนอผลงาน     3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน  4.1.2 พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม  4.1.3 พัฒนาการการใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 อธิบายยกตัวอย่างปัญหาที่เกิดขึ้นในการใช้รถบนท้องถนนและการแก้ปัญหาเบื้องต้น  4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล  4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 ผลจากการประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด  4.3.2 ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม  4.3.3 ประมาณจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ  5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ประเมินจากรายงานการจัด ทำรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมถูกต้อง  5.3.2 ประมาณจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.2 วิธีการสอน
6.3 วิธีการประเมินผล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 31045412 เครื่องมือวัดและทดสอบรถยนต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี - ไม่มี
1.ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ.ทฤษฎีและปฏิบัติไฟฟ้ายานยนต์. กรุงเทพ: บริบัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด  2.ยงยศ จินารักษ์ “เครื่องยนต์สันดาปภายใน”เอกสารตำราผลงานทางวิชาการ ภาควิชา  วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.มปป 
1.คู่มือการใช้เครื่องตั้งศูนย์ล้อรถยนต์             2.คู่มือการใช้เครื่องวัดควันดำ             3.คู่มือการใช้เครื่องระบบเรก             4.คู่มือการใช้เครื่องทดสอบสมรรถนะเครื่องยนต์             5.คู่มือการใช้เครื่องวิเคราะห์ข้อขัดข้องด้วยเครื่องOBD             6.คู่มือรรหัสวิเคราะห์ข้อขัดข้องด้วยเครื่องOBD             7.AUTO DATA เครื่องยนต์             8.คู่มือการใช้เครื่องถ่างล้อรถยนต์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน   
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ