การจัดการความรู้
Knowledge Management
1.1 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานในบทบาทของบุคลากรการจัดการองค์ความรู้และทรัพยากรมนุษย์ การจัดทำฐานความรู้ และระบบการจัดการความรู้ทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐ และการประเมินประสิทธิภาพของระบบการจัดการความรู้ในองค์กร
1.2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนและการบริหารที่ดี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง และสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กร รวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้
1.3 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสำนึกและตระหนักในการสร้างองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคลให้เกิดประโยชน์ที่สร้างมูลค่าแก่สังคมได้
1.4 เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีบทบาทในการส่งเสริมให้ชุมชนหรือองค์กรต่างๆ เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ
1.5 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้ไปให้คำแนะนำที่ส่งเสริมความรู้ต่อบุคคลทั้งในองค์กรธุรกิจ และชุมชนสามารถสร้างสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กรการเรียนรู้
1.2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักการวางแผนและการบริหารที่ดี การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง และสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ เหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กร รวมถึงการทำงานร่วมกันเป็นทีมได้
1.3 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตสำนึกและตระหนักในการสร้างองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคลให้เกิดประโยชน์ที่สร้างมูลค่าแก่สังคมได้
1.4 เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีบทบาทในการส่งเสริมให้ชุมชนหรือองค์กรต่างๆ เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ
1.5 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำองค์ความรู้ไปให้คำแนะนำที่ส่งเสริมความรู้ต่อบุคคลทั้งในองค์กรธุรกิจ และชุมชนสามารถสร้างสิ่งที่มีอยู่ให้ดีขึ้น และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในองค์กรการเรียนรู้
เป็นรายวิชาที่ปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในการจัดการเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรการจัดการ และเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมแห่งการเรียนรู้
ศึกษาเกี่ยวกับความหมายความสำคัญของการจัดการความรู้ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ การจัดระบบการจัดการความรู้ การดำเนินการจัดการความรู้ เครื่องมือการจัดการความรู้ ตลอดจนแนวทางแห่งความสำเร็จและความล้มเหลวของกาจัดการความรู้
อาจารย์ผู้สอนกำหนดวัน เวลาในการให้คำปรึกษา (Office Hour) ที่ห้องพักอาจารย์ หลักสูตรการจัดการ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมงและประกาศให้ผู้เรียนทราบ นอกจากนี้ยังได้กำหนดช่องทางให้นักศึกษาติดต่อผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และ Facebook
.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
(1) นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งทำประโยชน์ให้กับส่วนรวม
(2) นำความรู้และทักษะที่ได้ศึกษาไปสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาการจัดการความรู้ของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(3) มีคุณธรรม จริยธรรมในการแสวงหาและถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น ตลอดจนใช้เทคโนโลยีในการจัดการความรู้ในทางที่เหมาะสม
(4) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ตรงต่อเวลา และมีวินัยในการเรียน
(1) นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งทำประโยชน์ให้กับส่วนรวม
(2) นำความรู้และทักษะที่ได้ศึกษาไปสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาการจัดการความรู้ของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(3) มีคุณธรรม จริยธรรมในการแสวงหาและถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น ตลอดจนใช้เทคโนโลยีในการจัดการความรู้ในทางที่เหมาะสม
(4) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ตรงต่อเวลา และมีวินัยในการเรียน
บรรยาย อภิปราย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาในประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
(1) บันทึกพฤติกรรมการเข้าเรียน
(2) สังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่มและการนำเสนอ โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็น
(2) สังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่มและการนำเสนอ โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็น
(1) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ได้แก่ ความหมาย ประเภท คุณลักษณะ ความสำคัญ ประโยชน์ และวิวัฒนาการของการจัดการความรู้
(2) แนวคิด ทฤษฎี รูปแบบ และกระบวนการจัดการความรู้ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้และองค์การแห่งการเรียนรู้
(3) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้ กลยุทธ์การจัดการองค์ความรู้ และการจัดการความรู้ในองค์กรธุรกิจ
(4) บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการจัดการความรู้และทรัพยากรมนุษย์ ระบบการจัดการความรู้ และการประเมินประสิทธิภาพของระบบจัดการความรู้
(5) การจัดการความรู้ในภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐ
(2) แนวคิด ทฤษฎี รูปแบบ และกระบวนการจัดการความรู้ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้และองค์การแห่งการเรียนรู้
(3) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้ กลยุทธ์การจัดการองค์ความรู้ และการจัดการความรู้ในองค์กรธุรกิจ
(4) บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการจัดการความรู้และทรัพยากรมนุษย์ ระบบการจัดการความรู้ และการประเมินประสิทธิภาพของระบบจัดการความรู้
(5) การจัดการความรู้ในภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐ
(1) การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้ และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาตนเองและองค์กร
(2) ศึกษาการเรียนรู้จากกรณีศึกษา เว็บไซต์ของหน่วยงาน คลิปวิดีโอตัวอย่างการจัดการความรู้ขององค์กรเอกชนและภาครัฐ โดยให้นักศึกษาจัดทำรายงานพร้อมนำเสนอ
(2) ศึกษาการเรียนรู้จากกรณีศึกษา เว็บไซต์ของหน่วยงาน คลิปวิดีโอตัวอย่างการจัดการความรู้ขององค์กรเอกชนและภาครัฐ โดยให้นักศึกษาจัดทำรายงานพร้อมนำเสนอ
(1) สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น การนำเสนองาน การอภิปราย แสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม
(2) การรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
(3) การสอบย่อยและการสอบปลายภาค
(2) การรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
(3) การสอบย่อยและการสอบปลายภาค
(1) สามารถสืบค้นข้อมูล หลักฐานจากแหล่งอ้างอิงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ต้องการศึกษา และสามารถนำข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ
(2) สามารถประยุกต์ความรู้ด้านการจัดการความรู้และด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
(2) สามารถประยุกต์ความรู้ด้านการจัดการความรู้และด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.2 วิธีการสอน
(1) การสอนแบบการบรรยาย อภิปรายกลุ่ม
(2) การสอนโดยใช้กรณีศึกษา และแบบฝึกหัด
(1) การสอนแบบการบรรยาย อภิปรายกลุ่ม
(2) การสอนโดยใช้กรณีศึกษา และแบบฝึกหัด
3.3 วิธีการประเมินผล
(1) การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการจัดการความรู้ของหน่วยงานต่างๆ โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
(2) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
(3) การสอบปลายภาค
(1) การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการจัดการความรู้ของหน่วยงานต่างๆ โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
(2) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
(3) การสอบปลายภาค
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
(1) มีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
(2) ปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยแสดงความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
(3) มีการแสดงความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาการทำงานเกิดประสิทธิภาพ
(4) มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และทำงานที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด
(1) มีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
(2) ปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยแสดงความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
(3) มีการแสดงความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาการทำงานเกิดประสิทธิภาพ
(4) มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และทำงานที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด
4.2 วิธีการสอน
จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้เกิดการประสานงานและการให้ความร่วมมือกันในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้เกิดการประสานงานและการให้ความร่วมมือกันในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
4.3 วิธีการประเมินผล
(1) การรายงานหน้าชั้นเรียน
(2) การประเมินตนเองและประเมินเพื่อนในกลุ่ม
(3) สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในระหว่างที่ทำงานร่วมกัน
(1) การรายงานหน้าชั้นเรียน
(2) การประเมินตนเองและประเมินเพื่อนในกลุ่ม
(3) สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในระหว่างที่ทำงานร่วมกัน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
(1) ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
(2) ทักษะในการวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า
(3) ทักษะการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
(4) ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(1) ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
(2) ทักษะในการวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า
(3) ทักษะการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
(4) ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
(1) มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
(2) กำหนดให้มีการนำเสนอผลงานเชิงวิเคราะห์จากกรณีศึกษาหรืองานที่มอบหมาย ทั้งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
(1) มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
(2) กำหนดให้มีการนำเสนอผลงานเชิงวิเคราะห์จากกรณีศึกษาหรืองานที่มอบหมาย ทั้งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
5.3 วิธีการประเมินผล
(1) ความถูกต้องและเหมาะสมของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารทั้งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
(2) การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอที่เหมาะสม
(1) ความถูกต้องและเหมาะสมของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารทั้งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
(2) การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอที่เหมาะสม
1. สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
3. สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
4. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
5. สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3.จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
4.จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ 5.การเรียนการสอนกับการทำงาน
6.จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
7.จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
1 .ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
3. พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
4. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
5. นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ | 3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา | 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม | 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน | 3. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 4. มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน | 1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง | 2. สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป | 1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 2. มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็น ใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 4. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง | 2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 3. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 6. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง | 3. สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต 4. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 5. สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย |
1 | 12011307 | การจัดการความรู้ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1-4.2 | สอบกลางภาค | 9 | 35 |
2 | 5.1-8.3 | สอบปลายภาค | 17 | 35 |
3 | 3.4, 4.1, 4.2 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 |
4 | 5.2,5.3 | งานที่ได้รับมอบหมายและการเก็บคะแนน | 4,6,10,12 | 20 |
ปวีณา สปิลเลอร์. (2554). เอกสารประกอบการสอน การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ : โครงการสวนดุสิต กราฟฟิคไซท์.
- เอกสารประกอบการสอนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
- เอกสารประกอบการสอนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บุญญลักษม์ ตำนานจิตร. (2550). ระบบการจัดการองค์ความรู้. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
วิจารณ์ พานิช. (2551). การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
อัญญาณี คล้ายสุบรรณ์. (2550). การจัดการความรู้ฉบับปฐมบท. นครปฐม : เพชรเกษม พริ้นติ้ง กรุ๊ป.
วิจารณ์ พานิช. (2551). การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.
อัญญาณี คล้ายสุบรรณ์. (2550). การจัดการความรู้ฉบับปฐมบท. นครปฐม : เพชรเกษม พริ้นติ้ง กรุ๊ป.
3.1 กรณีศึกษาด้านการจัดการความรู้
3.2 กิจกรรมในแต่ละบทเรียน
3.3 เว็บไซต์ของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ เช่น
- สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) http://www.kmi.or.th/
- สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) http://www.opdc.go.th
- สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ http://www.ftpi.or.th
3.2 กิจกรรมในแต่ละบทเรียน
3.3 เว็บไซต์ของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการความรู้ เช่น
- สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) http://www.kmi.or.th/
- สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (กพร.) http://www.opdc.go.th
- สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ http://www.ftpi.or.th
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบฝึกหัด
2.2 รายงานการค้นคว้าต่างๆ ที่มอบหมาย
2.3 การนำเสนอผลงาน และการตอบคำถามของนักศึกษา
2.4 การเรียนของนักศึกษาในการสอบกลางภาคและสอบปลายภาค
2.2 รายงานการค้นคว้าต่างๆ ที่มอบหมาย
2.3 การนำเสนอผลงาน และการตอบคำถามของนักศึกษา
2.4 การเรียนของนักศึกษาในการสอบกลางภาคและสอบปลายภาค
3.1 จัดประชุมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 จัดทำวิจัยในชั้นเรียน
3.2 จัดทำวิจัยในชั้นเรียน
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา พิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่เรียนในแต่ละภาคการศึกษา บัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพแล้ว ผู้ประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์ที่ใช้ในการสอน และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป