นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Innovation and Information Technology for Educational
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของนวัตกรรมและการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ปัญหากระบวนการสื่อสาร การจัดกระบวนการสอน ประเภทสื่อพื้นฐานและสื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. รู้และเข้าใจวิธีการสอนการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การผลิต
4. รู้และเข้าใจการบูรณาการหลักและการใช้สื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้
5. การปฏิบัติการผลิตสื่อการสอน และการหาประสิทธิภาพสื่อการสอน
7. เห็นความสำคัญของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ปัญหากระบวนการสื่อสาร การจัดกระบวนการสอน ประเภทสื่อพื้นฐานและสื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. รู้และเข้าใจวิธีการสอนการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การผลิต
4. รู้และเข้าใจการบูรณาการหลักและการใช้สื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้
5. การปฏิบัติการผลิตสื่อการสอน และการหาประสิทธิภาพสื่อการสอน
7. เห็นความสำคัญของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ หลักการทฤษฎีพื้นฐานของนวัตกรรมและการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การวิเคราะห์ปัญหากระบวนการสื่อสาร การจัดกระบวนการสอน ประเภทสื่อพื้นฐานและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การผลิต การใช้สื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ ปฏิบัติการผลิตสื่อการสอน การหาประสิทธิภาพสื่อการสอน เพื่อประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องต่อไป
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ หลักการทฤษฎีพื้นฐานของนวัตกรรมและการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา การวิเคราะห์ปัญหากระบวนการสื่อสาร การจัดกระบวนการสอน ประเภทสื่อพื้นฐานและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การผลิต การใช้สื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ ปฏิบัติการผลิตสื่อการสอน การหาประสิทธิภาพสื่อการสอน เพื่อประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชา ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ดังนี้
2.1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
2.1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
การปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม
๑.๒.๑ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ๑.๒.๒ สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม ๑.๒.๓ เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม ๑.๒.๔ ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ๑.๒.๕ เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
๑.๒.๑ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ๑.๒.๒ สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม ๑.๒.๓ เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม ๑.๒.๔ ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ๑.๒.๕ เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในด้านต่าง ๆ ได้แก่
2.1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
2.1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
2.1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของรายวิชาที่ศึกษาซึ่งประกอบกันขึ้น เป็นองค์ความรู้ที่จะพัฒนาความสามารถและทักษะอันเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้และเข้าใจ ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมดังนี้
2.2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work Integrated Learning) โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
2.2.1 ผู้สอนอธิบายหลักการทางทฤษฎีและสาธิตการคำนวน การคิดวิเคราะห์ 2.2.3 เขียนรายงานการปฏิบัติงาน การคำนวน การคิดวิเคราะห์ 2.2.4 สรุปผลการปฏิบัติการสอน
2.2.1 ผู้สอนอธิบายหลักการทางทฤษฎีและสาธิตการคำนวน การคิดวิเคราะห์ 2.2.3 เขียนรายงานการปฏิบัติงาน การคำนวน การคิดวิเคราะห์ 2.2.4 สรุปผลการปฏิบัติการสอน
การทดสอบผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานนี้สามารถทำได้โดยการใช้ข้อสอบวัดผลในรายวิชาที่เรียนทั้งการทดสอบภาคทฤษฎีและปฏิบัติตลอดระยะเวลาของหลักสูตร โดยใช้การวัดผล ดังนี้
2.2.3.1 การทดสอบย่อย
2.2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.2.3.5 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.2.3.1 การทดสอบย่อย
2.2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.2.3.5 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพโดยพึ่งพาตนเองได้เมื่อจบการศึกษา ดังนั้นนักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาควบคู่กับคุณธรรมและจริยธรรมและความรู้ทางด้านวิชาชีพ โดยกระบวนการเรียนการสอนต้องเน้นให้นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยมีการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กัน นักศึกษาที่ผ่านกระบวนการเรียนการสอนด้วยวิธีดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
2.3.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
2.3.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
2.3.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
2.3.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work Integrated Learning) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง
1. บรรยาย
2. การมอบหมายงาน เพื่อให้นศ.เกิดการคิด วิเคราะห์
3. การมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสาร
1. บรรยาย
2. การมอบหมายงาน เพื่อให้นศ.เกิดการคิด วิเคราะห์
3. การมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสาร
การวัดและประเมินใช้แนวข้อสอบที่ให้นักศึกษาได้อธิบายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมา หรือให้นักศึกษาเลือกใช้วิชาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กำหนดให้ตามสภาพจริงจากผลงาน โครงงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
2.3.3.1 บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
2.3.3.2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ
2.3.3.3 การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.3.1 บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
2.3.3.2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ
2.3.3.3 การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งส่วนใหญ่ต้องทำงานร่วมกับคนที่มาจากหลายที่ มีความแตกต่างกันทางแนวคิด วัฒนธรรม สถาบันการศึกษา และเชื้อชาติ ซึ่งอาจเป็นผู้บังคับบัญชา หรือคนที่จะมาอยู่ใต้บังคับบัญชา ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่าง ๆ เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง นักศึกษาจึงต้องได้รับการฝึกประสบการณ์พื่อเรียนรู้การปรับตัวให้เข้ากับบุคคลและกลุ่มบุคคลต่าง ๆ ดังนั้นผู้สอนต้องแนะนำการวางตัว มารยาทในการเข้าสังคม และทักษะที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ดังนี้
2.4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
2.4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
ดำเนินการสอนโดยการกำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้
2.4.2.1 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2.4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้ - กำหนดรูปแบบการนำเสนองานกิจกรรม Active Learming หน้าชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษาสะท้อนความรู้ที่ค้นคว้าและทักษะในการถ่ายทอดความรู้ - กำหนดให้นักศึกษาทำรายงานการประเมินตนเอง
2.4.2.1 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2.4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้ - กำหนดรูปแบบการนำเสนองานกิจกรรม Active Learming หน้าชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษาสะท้อนความรู้ที่ค้นคว้าและทักษะในการถ่ายทอดความรู้ - กำหนดให้นักศึกษาทำรายงานการประเมินตนเอง
การวัดและประเมินผลทำได้โดยการสังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมกลุ่ม ทั้งในและนอกชั้นเรียน และผลสะท้อนกลับจากการฝึกประสบการณ์ต่าง ๆ เช่น
2.4.3.1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2.4.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2.4.3.1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2.4.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
ในยุคปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญในชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ นักศึกษาต้องมีความรู้และมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเอง ดังนั้น นักศึกษาจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีไปพร้อมกับคุณธรรม จริยธรรมและความรู้เกี่ยวกับสาขาวิชาชีพ ด้วยเหตุนี้ ผู้สอนต้องใช้เทคโนโลยีในการสอนเพื่อฝึกให้นักศึกษามีคุณสมบัติ ดังนี้
2.5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2.5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
2.5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2.5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรมที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
2.5.2.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
2.5.2.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
งานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ - นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2.5.2.1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
2.5.2.2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
งานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ - นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
2.5.3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
2.5.3.2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
2.5.3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
2.5.3.2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเอง และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังนั้นในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังข้อต่อไปนี้
2.6.1.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
2.6.1.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้
2.6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
1. จัดการเรียนการสอนแบบ Project Based Learning
2.6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
1. จัดการเรียนการสอนแบบ Project Based Learning
2.6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | ด้านความรู้ | ด้านทักษะทางปัญญา | ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 |
1 | 30021101 | นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | - ไม่เพิ่ม | - ไม่เพิ่ม | - ไม่เพิ่ม | - ไม่เพิ่ม |
- เอกสารประกอบการสอนรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
- คู่มือการสร้างบทเรียนมัลติมีเดียด้วยโปรแกรม PowerPoint
- คู่มือการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม PowerPoint
- ณัฐกร สงคราม. 2553. การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประเสริฐ แซ่เอี๊ยบ. 2554. หลักการทฤษฎีเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
- คู่มือการสร้างบทเรียนมัลติมีเดียด้วยโปรแกรม PowerPoint
- คู่มือการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม PowerPoint
- ณัฐกร สงคราม. 2553. การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประเสริฐ แซ่เอี๊ยบ. 2554. หลักการทฤษฎีเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
บทความและวีดิทัศน์
- บทความ เรื่อง e-learning กับการศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21
- วิดีทัศน์การออกแบบและผลิตสื่อการเรียนรู้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Microsoft PowerPoint
- วีดิทัศน์ประกอบการสอน เรื่อง 21st Century Education
- วีดิทัศน์ประกอบการสอน เรื่อง Innovation in Education
- วีดิทัศน์ประกอบการสอน เรื่อง The Future of Learning
- บทความ เรื่อง e-learning กับการศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21
- วิดีทัศน์การออกแบบและผลิตสื่อการเรียนรู้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Microsoft PowerPoint
- วีดิทัศน์ประกอบการสอน เรื่อง 21st Century Education
- วีดิทัศน์ประกอบการสอน เรื่อง Innovation in Education
- วีดิทัศน์ประกอบการสอน เรื่อง The Future of Learning
กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
ทิศนา แขมณี. (2550). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐกร สงคราม. (2533). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรรณี ลิมอักษร. (2551). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. สงขลา: นำศิลป์โฆษณา.
ทิศนา แขมณี. (2550). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐกร สงคราม. (2533). การออกแบบและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรรณี ลิมอักษร. (2551). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. สงขลา: นำศิลป์โฆษณา.
ให้นศ.แสดงความคิดเห็น ในการพัฒนาแผนการเรียนรู้โดยหลังจากการสอน
การบูรณาการงานจริง ที่นศ.สามารถแสดงออกดังจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ในแผนการสอน
นำสิ่งที่นศ.สะท้อนหลังเรียนในคาบนำมาวางแผนการจัดการเรียนการสอน
ไม่มี
วางการจัดการเรียนให้เหมาะสมกับผู้เรียนในเทอมต่อไป