การผลิตสุกร

Swine Production

1. รู้สภาพการผลิต ประเภท และพันธุ์สุกร
2. เข้าใจการสืบพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์สุกร
3. เข้าใจโรงเรือนและอุปกรณ์ในฟาร์มสุกร
4. เข้าใจอาหารและการให้อาหารสุกร การจัดการสุกรตามชีพจักร โรคพยาธิสุกร
5. มีทักษะในการผลิตสุกร
6. มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพการผลิตสุกร
เพื่อเป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสุกรในปัจจุบัน โดยเฉพาะระบบการผลิตสุกรในทางการค้าซึ่งมีการนำเทคโนโลยี และวิทยาการใหม่ ๆ มาใช้ในการจัดการมากขึ้น
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและสภาพการผลิตสุกรภายในประเทศและต่างประเทศ ประเภท และพันธุ์สุกร การคัดเลือกและการผสมพันธุ์ การวางผังฟาร์ม โรงเรือนและอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหาร การบริหารและการจัดการฟาร์มสุกร มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสุกร การสุขาภิบาลและป้องกันโรคพยาธิต่างๆ ธุรกิจและการตลาดสุกร
จัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยจะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบภายหลัง
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)

การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)

3. การสอนแบบบรรยาย
1.การฝึกตีความ
2.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.การประเมินตนเอง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโน โลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)

2.การสอนแบบบรรยายและ
เชิงอภิปราย
1.การนำเสนองาน
2.ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.การเรียนแบบสร้างแผนผัง
ความคิด (Concept Mapping)
2.การสอนแบบ Brain
Storming Group
3.การสอนแบบการอภิปราย
กลุ่มย่อย (Small - Group
Discussion)
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็น
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบสถานการณ์
จำลอง (Simulation)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
(Participatory Learning)
3. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน
และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษา
มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 4.มอบหมายงานกลุ่มและมีการ
เปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจ-
กรรมที่มอบหมาย เพื่อให้
นักศึกษาทำงานได้ร่วมกับ
ผู้อื่น
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองาน
3. การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.กระบวนการสืบค้น (Inquiry
Process) และแนะนำการ
สืบค้นด้วยเทคโนโลยีสาร
สนเทศ
2.ใช้ Power point และมีการ
นำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์
เนตร่วมด้วย
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองานรายงาน
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การสอนแบบกรณีศึกษา
(Case Studies)
2. การสอนแบบสถานการณ์
จำลอง (Simulation)
3. การสอนแบบ Problem
Based Learning
1. สถานการณ์จำลอง
2. การนำเสนองาน
3. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา เป็นหลัก เป็นรอง ไม่เน้น เป็นหลัก เป็นรอง เป็นหลัก
1 23024308 การผลิตสุกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบวัดผลการศึกษา สอบกลางภาคการศึกษา สอบปลายภาคการศึกษา 9 และ 17 23% และ 25%
2 วัดผลการปฏิบัติ ปฏิบัติการผลิตสุกร 19 รายการ ทุกสัปดาห์การเรียนการสอน 32%
3 กิจนิสัยการปฏิบัติตน กิจนิสัย การเข้าห้องเรียน มารยาท ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 จิตพิสัยในกิจกรรมการศึกษา การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
จรูญ สินทวีวรกุล. 2553. เอกสารประกอบการสอนวิชาการผลิตสุกร. สาขาวิชาสัตวศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง, ลำปาง.
สมบัติ พนเจริญสวัสดิ์. 2544. เอกสารประกอบการสอนวิชาการผลิตสุกร. สาขาวิชาสัตวศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก, พิษณุโลก.
วันดี ทาตระกูล.2546. สุกรและการผลิตสุกร.  ภาควิชาสัตวศาสตร์,คณะเกษตรศาสตร์,  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.  374 น.                                                                                                                               
อรรณพ  คุณาวงษ์กฤต. 2545.  วิทยาการสืบพันธุ์สุกร.  สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กรุงเทพฯ. 408 น.                             
ปรียพันธุ์  อุดมประเสริฐ. 2542.  การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. อุดมสุขการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 199 น.                                                         
            ศรีสุวรรณ  ชมชัย.  2542.  คู่มือปฏิบัติการผสมเทียมในสุกร.  สัตว์เศรษฐกิจ,  กรุงเทพฯ.  285 น. 
วารสารสุกรสาส์น(เกษตรศาสตร์) วารสารโลกสุกร ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์ http://www.dld.go.th

Livestock and Poultry : World Markets and Trade
1.1 ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาผ่านระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
     2.1 การประเมินการสอนจากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
    2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
3.1 ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์ เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณา
จากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมใน
วิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการเรียนของ นักศึกษา ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป