การประดับอัญมณีบนตัวเรือนเครื่องประดับ

Gemstones Setting

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดับ อัญมณีบนตัวเรือนเครื่องประดับ และวิธีการประดับอัญมณีบนตัวเรือนเครื่องประดับแบบต่าง ๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการประดับ อัญมณีบนตัวเรือนเครื่องประดับ ตลอดจนได้เรียนรู้กระบวนการประดับอัญมณีบนตัวเรือนเครื่องประดับรูป แบบต่าง ๆ  เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางด้านอัญมณีและเครื่องประดับทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและแนวโน้มด้านต่าง ๆ ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการประดับ (ฝัง) อัญมณีบนตัวเรือนเครื่องประดับ การใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกวิธีและปลอดภัย วิธีการประดับอัญมณีด้วยรูปแบบต่าง ๆ เช่น แบบหุ้ม แบบไข่ปลา แบบล็อค แบบหนามเตย
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น อีเมล์ โซเชียลมีเดีย
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อมเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด เน้นเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1   การขานชื่อ การให้คะแนนและการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
1.3.2   พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้
1.3.3   พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
1.3.4   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฏระเบียบของข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.1.1  มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
               2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
               2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  และสาธิตการปฏิบัติงานให้นักศึกษาได้ดูเป็นตัวอย่าง
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.2.2อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   การศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1   ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน
3.3.2   ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4   สามาถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2  มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนองานหลังจากวิเคราะห์
4.3.1   ประเมินตนเอง จากรายงานหน้าชั้นโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2  พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาข้อมูลจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.1   ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับทฤษฎี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43043045 การประดับอัญมณีบนตัวเรือนเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 9 17 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 1-8 10-16 งานที่มอบหมายและผลงาน งานที่มอบหมายและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 30% 30%
3 1-7 9-15 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชัวโมง
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ผู้สอนควรให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้ กับเทคโนโลยีใหม่ ๆ หรืองานวิจัย