โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์

Programmable Logic Controller

        ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ เครื่องมือและอุปกรณ์ตรวจวัดในขบวนการควบคุมแบบลำดับ  การเขียนไดอะแกรมของรีเลย์   การฝึกเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์  การเขียนภาคำสั่ง   ภาษาคำสั่งบลูลีน  ภาคำสั่งแลดเดอร์และภาษาคำสั่งอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรม หลักการเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือและระบบควบคุมให้เหมาะสม   การประยุกต์ใช้งาน PLC
พื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้โปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์ควบคุมเครื่องมืออุปกรณ์ เกี่ยวกับความรู้ทางด้านอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในระบบอัตโนมัติ  การใช้และเขียนโปรแกรมควบคุมระบบ การประยุกต์ใช้งานเกี่ยวกับ PLC  การใช้คำสั่งต่างๆ   การใช้โปรแกรมควบคุมหลอดไฟ  ควบคุมระบบนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์   เพื่อนักศึกษาจะได้นำความรู้ไปใช้งานในสถานประกอบการ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ เครื่องมือและอุปกรณ์ตรวจวัดในขบวนการควบคุมแบบลำดับ  การเขียนไดอะแกรมของรีเลย์   การฝึกเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์  การเขียนภาคำสั่ง   ภาษาคำสั่งบลูลีน  ภาคำสั่งแลดเดอร์และภาษาคำสั่งอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรม หลักการเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือและระบบควบคุมให้เหมาะสม   การประยุกต์ใช้งาน PLC
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการ
เป็นสมาชิกกลุ่ม
1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.7 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
สอบภาคทฤษฎีกลางภาคและปลายภาค สอบปฎิบัติการเขียนโปรแกรมควบคุมระบบนิวแมติกส์
       ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ เครื่องมือและอุปกรณ์ตรวจวัดในขบวนการควบคุมแบบลำดับ  การเขียนไดอะแกรมของรีเลย์   การฝึกเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ เครื่องมือและกระบวนการโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์  การเขียนภาคำสั่ง   ภาษาคำสั่งบลูลีน  ภาคำสั่งแลดเดอร์และภาษาคำสั่งอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม การแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงโปรแกรม หลักการเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องมือและระบบควบคุมให้เหมาะสม   การประยุกต์ใช้งาน PLC
บรรยาย  ถาม-ตอบ  อภิปราย การทำรายงาน และฝึกปฏิบัติการออกแบบวงจรและเขียนโปรแกรม PLC ต่อวงจรไฮดรอลิกส์และนิวแมติกส์   ควบคุมหลอดไฟและระบบแมคคาทรอนิกส์
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ ความเข้าใจหลักการ
งานที่มอบหมายและจิตพิสัยในการเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.1 ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรม PLC บนชุดฝึก
3.2.2 การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชาโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์
3.3.2 งานที่มอบหมายและจิตพิสัยในการเรียน
3.3.3 วัดผลจากการประเมินจากการสอบภาคปฏิบัติ
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
    4.1.1  พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
    4.1.2  พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
     4.1. 3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
กำหนดเวลา
4.2.1  บรรยาย   ถาม-ตอบ ฝึกปฏิบัติและนำเสนอรายงานเป็นกลุ่ม
4.2.2 ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรม PLC ทำงานเป็นกลุ่มร่วมกัน
4.3.1 ผลจากการประเมินการทำงานงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล
4.3.2 ผลจากการประเมินงานที่มอบหมายและจิตพิสัย
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การ
แปล การเขียน โดยการทำรายงาน ทำแผนการสอน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ แก้ปัญหา
 5.1.3 พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
อย่างเป็นระบบ
5.1.4 พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้เรียน และการ
ปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
5.1.5 การนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบเครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน การนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.3.1 สอบปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชาโปรแกรมเมเบิ้ลลอจิกคอนโทรลเลอร์
3.3.2 งานที่มอบหมายและจิตพิสัยในการเรียน
3.3.3 วัดผลจากการประเมินจากการสอบภาคปฏิบัติ
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.3.1 ผลจากการประเมินการทำงานงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล
4.3.2 ผลจากการประเมินงานที่มอบหมายและจิตพิสัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1- บทที่ 8-16 สอบกลางภาค สอบปลายภาค
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
     การเรียนรู้ PLC ระดับ 1  เอกสารของ Omron
     การใช้งาน SYSWIN  3.4 
     การใช้งาน CX-PROGROGRAM   
บทเรียนออนไลน์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ