ระเบียบวิธีวิจัย

Research Methodology

ศึกษาความหมาย ความสำคัญและวัตถุประสงค์และประเภทของงานวิจัย ขั้นตอน สําคัญของงานวิจัย การออกแบบการวิจัย ศึกษาตัวแปรประเภทต่าง ๆ วิธีการสุ่มตัวอย่างเพื่อกำหนดขนาดประชากร ศึกษาวิธีการเก็บข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย การตีความและการนำเสนอข้อมูลวิจัย รวมทั้งการเขียนรายงานการวิจัยและการเขียนโครงร่างการวิจัย
เขาใจความหมายและความสำคัญของการวิจัย สามารถแยกงานวิจัยประเภทต่างๆ ได้ เข้าใจถึงขั้นตอนสําคัญของงานวิจัยประเภทต่างๆ ได้ สามารถเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับการวิจัยประเภทต่างๆ ได้  สามารถเขียนโครงร่างงานวิจัยในหัวข้อที่สนใจได
ศึกษาความหมาย ความสำคัญและวัตถุประสงค์และประเภทของงานวิจัย ขั้นตอน สําคัญของงานวิจัย การออกแบบการวิจัย ศึกษาตัวแปรประเภทต่าง ๆ วิธีการสุ่มตัวอย่างเพื่อกำหนดขนาดประชากร ศึกษาวิธีการเก็บข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย การตีความและการนำเสนอข้อมูลวิจัย รวมทั้งการเขียนรายงานการวิจัยและการเขียนโครงร่างการวิจัย
— อาจารยประจํารายวิชา ประกาศเวลาใหคําปรึกษาผานเอกสารประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)
— อาจารยจัดเวลาใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล หรือรายกลุมตามความตองการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห (เฉพาะรายที่ตองการ)
1.1.1 มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายเรื่องจรรยาบรรณของนักวิจัย
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กําหนดข้อกําหนดการปฎิบัติตนในห้องเรียนร่วมกันในชั้น
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให่และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.3 สังเกตการณ์การมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน 
2.1.1 มีความรู่และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2 วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุ่ม การทํางานเดี่ยว การนําเสนอรายงาน การศึกษาจากกรณีตัวอย่าง และการศึกษาจากกระบวนการกำหนดโจทย์วิจัยจากพื้นที่จริง
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและ ทฤษฏีรวมถึงการบูรณาการความรู้เข้ากับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.2 ประเมินจากการนําเสนอ ผลการทํางานกลุ่มและการทํางานเดี่ยว
3.1.1 มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 อภิปรายกลุ่ม
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากพฤติกรรม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.3.2 วัดผลจากการนําเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานรายกล่มุและรายบุคคล
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กําหนด  
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเป็นทีม
4.3.3 สังเกตพฤติกรรมการเป็นผู้นําเสนอและการเป็นผู้ฟัง
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
 5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการนําเสนอและรูปแบบการนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ 17 25% 25%
2 การนําเสนอผลงาน การทํางานกลุมและผลงานเดี่ยว การสงงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 40%
3 การเขาชั้นเรียน การมีสวนรวม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียนและการสังเกตพฤติกรรมการเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
เกษม สาหรายทิพย. (2540). ระเบียบวิธีวิจัย. พิษณุโลก : ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร   มหาวิทยาลัยนเรศวร.
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องตน.  มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
มนสิช สิทธิ  สมบูรณ. (2540). วิจัยการศึกษาเบื้องตน. พิษณุโลก : ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา  คณะศึกษาศาสตร  มหาวิทยาลัยนเรศวร.
รวีวรรณ ชินะตระกูล. (2536). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ.
วรัญญา ภัทรสุข. (2546). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สิริโฉม พิเชษฐบุญเกียรติ .(2551).การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนวิชาระเบียบวิธีวิจัย เรื่อง ประชากรและกลุมตัวอยาง สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เชียงราย. เผยแพรใน วารสารสมาคมนักวิจัย ปที่ 14 ฉบับที่  ประจําเดือน มกราคม – เมษายน 2552  
 ___________________. (2548).การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม เรื่อง มารยาทไทยของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่มีรูปแบบการนำเสนอบทสรุปตางกัน . เผยแพรในวารสารสมาคมนักวิจัย ปที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน-ธันวาคม 2548 
 ___________________. (2552). การจัดทําตัวบงชี้คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคของบัณฑิตสําหรับสถานประกอบการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลลานนา.   ___________________. (2551).การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช Storyline Method  เพื่อใหนักศึกษาปลอดภัยจากปญหาสังคม. 
 ___________________. (2553).ผลกระทบและรูปแบบการจัดการทองเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรมรองรับการเชื่อมโยงเสนทาง R3a.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ไดจัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไดดังนี้
                   1.1 การสนทนารายบุคคลระหวางผูสอนและผูเรียน
                   1.2 แบบประเมินผูสอนผานระบบประเมินผูสอน
ในการเก็บขอมูลเพื่อประเมินการสอน ไดมีกลยุทธ ดังนี้
                   2.1   การสังเกตการณสอนของผูสอน
                   2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
                   2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
หลังจากผลการประเมินการสอนในขอ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาขอมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
                   3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                   3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหวางกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวขอ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรูในวิชาไดจากการสอบถามนักศึกษาหรือการนําเสนอผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ และหลังการออกผลการเรียนในรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาไดดังนี้
                   4.1   ตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูของนักศึกษา โดยตรวจสอบขอสอบ วิธีการให้คะแนนสอบและการใหคะแนนจิตพิสัยและพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ไดมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อใหเกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
                             5.1   ติดตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4
                             5.2   ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของกับแนวการสอนในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในวิชาระเบียบวิธีวิจัย