สังคมกับเศรษฐกิจ

Society and Economy

ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางสังคมกับเศรษฐกิจ แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ในสังคมมนุษย์ วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและสังคม องค์กรธุรกิจ ปัญหาเศรษฐกิจไทยและสังคมมนุษย์และการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อสอดคล้องกับแนวคิดประชาคมอาเซียน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เขาใจความหมายและความสำคัญของพื้นฐานทางสังคมกับเศรษฐกิจ เข้าใจถึงแนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ในสังคมมนุษย์ สามารถอธิบายวิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและสังคม เข้าใจโครงสร้าง กลไกและความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเศรษฐกิจต่างๆ ในระบบเศรษฐกิจไทย เข้าใจปัญหาเศรษฐกิจไทยและสังคมมนุษย์ในปัจจุบันและอนาคต
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางสังคมกับเศรษฐกิจ แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ในสังคมมนุษย์ วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและสังคม องค์กรธุรกิจ ปัญหาเศรษฐกิจไทยและสังคมมนุษย์และการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อสอดคล้องกับแนวคิดประชาคมอาเซียน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
— อาจารยประจํารายวิชา ประกาศเวลาใหคําปรึกษาผานเอกสารประมวลการสอนรายวิชา (Course Syllabus)
— อาจารยจัดเวลาใหคําปรึกษาเปนรายบุคคล หรือรายกลุมตามความตองการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห (เฉพาะรายที่ตองการ)
1.1.1 มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณคาของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางสังคมกับเศรษฐกิจ แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์ในสังคมมนุษย์ วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและสังคม องค์กรธุรกิจ ปัญหาเศรษฐกิจไทยและสังคมมนุษย์และการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อสอดคล้องกับแนวคิดประชาคมอาเซียน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
1.2.2 อภิปรายกลุมเกี่ยวกับวิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจและสังคม องค์กรธุรกิจ รวมทั้งปัญหาเศรษฐกิจไทยและสังคมมนุษย์
1.2.3 กําหนดขอกําหนดการปฎิบัติตนในหองเรียนรวมกันในชั้น
1.3.1 พฤติกรรมการเขาเรียนและสงงานที่ไดรับมอบหมายตามขอบเขตที่ใหและตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.3 สังเกตการณการมีสวนรวมในกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน 
2.1.1 มีความรูและความเขาใจทั้งดานทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถบูรณาการความรูที่ศึกษากับความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุม การทํางานเดี่ยว การนําเสนอรายงาน การศึกษาจากกรณีตัวอยาง จากสถานการณ์ข่าวเกี่ยวกับเศรษฐกิจและสังคมจากสื่อสารมวลชนต่างๆ
2.3.1 ทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวยขอสอบที่เนนการวัดหลักการและ ทฤษฏีรวมถึงการบูรณาการความรูเขากับศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
2.3.2 ประเมินจากการนําเสนอ ผลการทํางานกลุมและการทํางานเดี่ยว
3.1.1 มีทักษะในการนําความรูมาคิดและใชอยางเปนระบบ
3.2.1 อภิปรายกลุม
3.2.2 การสะทอนแนวคิดจากพฤติกรรม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเนนขอสอบที่มีการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ
3.3.2 วัดผลจากการนําเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแกไขปญหา
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธและมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 สามารถทํางานเปนทีมและสามารถแกไขขอขัดแยงไดอยางเหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานรายกลมุและรายบุคคล
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ดวยแบบฟอรมที่กําหนด  
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเปนทีม
4.3.3 สังเกตพฤติกรรมการเปนผูนําเสนอและการเปนผูฟง
5.1.1 สามารถเลือกใชวิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบคน ศึกษา วิเคราะห และประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อแกไขอยางเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเอง
5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการนําเสนอและรูปแบบการนําเสนอดวยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีสวนรวมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ 17 25% 25%
2 การนําเสนอผลงาน การทํางานกลุมและผลงานเดี่ยว การสงงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 40%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียนและการสังเกตพฤติกรรมการเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
ชูศักดิ์ จรูญสวัสดิ์. 2543. ระบบเศรษฐกิจและพัฒนาการเศรษฐกิจไทย.
ณรงค์ โพธิ์พฤษานันท์. 2555. สังคมกับเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 กับแนวคิดสูประชาคม.
ณรงค์ โพธิ์พฤษานันท์. 2555. สังคมกับเศรษฐกิจ. สำนักพิมพ์: พูลสวัสดิ์ พับลิชชิ่ง
สำนักข่าวแห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ 2552. เศรษฐกิจสร้างสรรค์: ทางเลือกเศรษฐกิจไทย.  
สิรพัฒน์ชนะกุล 2552. เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2553. [ระบบออนไลน์] http://www.nia.or.th/innolinks/page.php?issue=200905&section=6
 อลงกรณ์ พลบุตร 2552. “ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์กับการพัฒนาประเทศไทย”.   ใน Creative Thailand: สร้างสรรค์ไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ, 53-58.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
                   1.1 การสนทนารายบุคคลระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
                   1.2 แบบประเมินผู้สอนผ่านระบบประเมินผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
                   2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
                   2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
                   2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
                   3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                   3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการนําเสนอผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบ และหลังการออกผลการเรียนในรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
                   4.1   ตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนจิตพิสัยและพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
                             5.1   ติดตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
                             5.2   ศึกษางานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับแนวการสอนในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในวิชาสังคมกับเศรษฐกิจ