การตัดเย็บเสื้อผ้า

Clothing Sewing

1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการตัดเย็บ การใช้จักรเย็บ ผ้า การเย็บตะเข็บเบื้องต้น การสร้างแบบตัดเสื้อผ้าและการตัดเย็บเสื้อผ้า
1.2  ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการการใช้วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการตัดเย็บ การใช้จักรเย็บ ผ้า การเย็บตะเข็บเบื้องต้น การสร้างแบบตัดเสื้อผ้าและการตัดเย็บเสื้อผ้า
1.3  มีทักษะในการนำเสนอผลงานการตัดเย็บเสื้อผ้า
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการตัดเย็บ การใช้จักรเย็บ ผ้า การเย็บตะเข็บเบื้องต้น การสร้างแบบตัดเสื้อผ้าและการตัดเย็บเสื้อผ้า
        ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในการตัดเย็บ การใช้จักรเย็บ ผ้า การเย็บตะเข็บเบื้องต้น การสร้างแบบตัดเสื้อผ้าและการตัดเย็บเสื้อผ้า
 -    อาจารย์ผู้สอนประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา มอบหมายโครงการเดี่ยวและกลุ่มกำหนดส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ปลูกฝั่งทัศนคติและจิตสำนึกที่ดี ต่อ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ยกตัวอย่างบุคคลที่น่าเป็นแบบอย่าง
1.3.1   ประเมินผลจากพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต ที่กำหนดให้ และทัศนคติ จิตสำนึก แรงจูงใจ ในการทำโครงการ การประพฤติตนที่ดีระหว่างการเรียนการสอน
               2.1.1  มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย  อภิปราย การนำเสนอโครงงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาหรือมอบหมายให้ ค้นหา   บทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และผลิตเครื่องประกอบการแต่งกายในแต่ละสัปดาห์รวมไปถึง โครงการรวบ รวมผลงาน โดยนำเสนอท้ายเทอมโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติและข้อสอบที่เน้นการประยุกต์หลักการและ ทฤษฏีนำไปสู่การผลิตจริง และนำเสนอผลงานเพื่อฝึกทักษะที่ต้องใช้ในการทำงานจริงและฝึกไหวพริบ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2.1   มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ โดยเน้นนำทฤษฎีที่สอน และสิ่งที่ค้นคว้าเพิ่มเติมจากสิ่งที่สนใจ นำมาประยุกต์ออกแบบตามขั้นตอนที่กำหนด และสอดแทรกความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของแต่ละคน จนได้ผลงานในแบบฉบับของตนเอง
3.3.1   ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน และสิ่งที่ออกแบบ แนวคิดในการออกแบบ วิธีการออกแบบ การออกแบบเพื่อตอบวนองความต้องการผู้บริโภค
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในฝึกปฏิบัติงานร่วมกัน และ มอบหมายให้ปรึกษาอาจารย์ผู้สอนระหว่างฝึกปฏิบัติ เพื่อฝึกการทำงานเป็นกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ และมารยาททางสังคม
4.3.1   ประเมินและพิจารณาจากกลุ่ม เพื่อนร่วมกลุ่ม ตนเอง และอาจารย์โดยมีผลประเมิน
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายให้นำเสนอโครงการหน้าชั้นเรียนด้วยสื่อเทคโนโลยีที่สร้างสรรค์ เช่น คอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการออกแบบ นิตยสาร กล้องถ่ายรูป เป็นต้น
5.2.2   มอบหมายให้ศึกษา และ วิเคราะห์ตัวอย่างหรือข้อมูลเพิ่มเติมที่น่าสนใจสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้นจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น อินเตอร์เน็ต นิตยสาร งานวิจัยเป็นต้น
5.2.3  สอนคำศัพท์เทคนิคที่จำเป็นต่ออาชีพทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย พร้อมทั้งแปลเป็นไทยเพื่อให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น
5.3.1   ประเมินจากผลการสอบข้อสอบ ปฏิบัติ และการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนด้านการนำเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องทำให้การนำเสนอมีความสร้างสรรค์และน่าสนใจ
5.3.2 ประเมินจากผลการสอบข้อสอบ ปฏิบัติ และการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนด้านการนำสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆเชื่อมโยงกับผลงาน
5.3.3 ประเมินจากผลการสอบข้อสอบ ปฏิบัติ และการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนด้านความเข้าใจความหมายของคำศัพท์เทคนิค และการนำมาใช้ที่ถูกต้อง
มีทักษะในการทาตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนา
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทาตามแบบและใบงาน
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ110 การตัดเย็บเสื้อผ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ไม่มี
2 1-8 10-16 การนำเสนอผลงานแต่ละสัปดาห์และการนำเสนอโครงการท้ายเทอม ตลอดภาคการศึกษา 90%
3 1-7 9-15 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ผศ.ทัศนีย์  จิยะจันทน์. วิธีสร้างและตัดเย็บเสื้อสูท ชุดไทย ราตรี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ เสริมวิทย์บรรณาคาร, 2527
อาจารย์ชูศรี  อรุณไวกิจ. ตัดเสื้อสตรี เสื้อชาย. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง,  2540
อาจารย์กุลณสร  วิเศษรจนา. เทคนิคการตัดเย็บเสื้อผ้าเบื้องต้น .กรงเทพฯ : สำนักพิมพ์วังอักษร, 2537.
ศรีกาญจนา พลอาสา. การตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปเชิงอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์, 2540.                
เทคนิคการเรียนรู้วิธีการตัดเย็บเสื้อผ้าขั้นพื้นฐาน.สำนักพิมพ์ส่งเสริมอาชีพเพชรกะรัต, 2548
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2   อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   ประยุกต์ทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อเป็นหลักในการสอนและเรียนรู้จริงที่มีประสิทธิภาพ
3.2  ทบทวนเนื้อหาและศึกษาวิธีการสอนจากมหาวิทยาลัยสากลนำมาปรับประยุกต์ใช้ใน การสอนให้ เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
3.3 สอดแทรกเนื้อหาใหม่ที่ตรงกับแนวโน้มปัจจุบันและอนาคต
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียน รายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์มหาวิทยาลัยและเกณฑ์จากผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพ
4.2   ประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   พิจารณาปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุติประจำหลักสูตรหรือผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพที่มี ประสิทธิภาพ จริงต่อการทำงาน
5.3  การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา