การออกแบบแฟชั่น

Fashion Design

1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบแฟชั่น ประเภทเครื่องแต่งกายชั้นสูง
1.2  ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการร่างแบบและออกแบบ เครื่อง แต่งกายชั้นสูง
1.3  มีทักษะในการนำเสนอผลงานการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกายแฟชั่น
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่นรูปแบบชุดลำลอง ชุดทำงานและชุดที่ใช้ในโอกาสพิเศษตามหลักกระบวนการออกแบบแฟชั่นสู่สากล
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการร่างหุ่นคนเพื่อแสดงแบบ การวาดส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ ส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย การศึกษาหลักการออกแบบแฟชั่นตามองค์ประกอบเพื่อออกแบบให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
 -    อาจารย์ผู้สอนประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
            1.2.2    ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1   การขานชื่อ การให้คะแนนและการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
1.3.2   พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนดให้
1.3.3   พิจารณาจากทัศนคติการออกแบบผลงาน โดยไม่ลอกเลียนแบบ มีการศึกษาค้นคว้าวิจัย
               2.1.1  มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนือหาที่ศึกษา
               2.1.2  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
                  บรรยาย  อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาหรือมอบหมายให้ค้นหา  
     บทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
     สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
 3.1.1   มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
   3.2.1   มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์
การศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน การสะท้อนแนวคิดจากการปฏิบัติ
3.3.1   ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน และประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
4.1.1   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.2   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนองานหลังจากวิเคราะห์
4.3.1   ประเมินตนเอง จากรายงานหน้าชั้นโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.2   พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาข้อมูลจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.1   ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับทฤษฎี
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ106 การออกแบบแฟชั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ไม่มี
2 1-8 10-16 การนำเสนอผลงานแต่ละสัปดาห์และการนำเสนอโครงการท้ายเทอม ตลอดภาคการศึกษา 90 %
3 1-7 9-15 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Steven Faerm.Fashion  Design Course.
United Kingdom:  Thames & Hudson ,  2010
Carol Brown. Fashion & Textiles The Essential Careers Guide. United Kingdom: Laurence King Publishing, 201
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2   อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   ประยุกต์ทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อเป็นหลักในการสอนและเรียนรู้จริงที่มีประสิทธิภาพ
3.2  ทบทวนเนื้อหาและศึกษาวิธีการสอนจากมหาวิทยาลัยสากลนำมาปรับประยุกต์ใช้ใน การสอนให้ เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
3.3 สอดแทรกเนื้อหาใหม่ที่ตรงกับแนวโน้มปัจจุบันและอนาคต
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียน รายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์มหาวิทยาลัยและเกณฑ์จากผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพ
4.2   ประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   พิจารณาปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุติประจำหลักสูตรหรือผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพที่มี ประสิทธิภาพ จริงต่อการทำงาน
5.3  การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา