ปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ

Ornamental Fish and Aquatic Plant

รู้จักชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ รู้จักและเข้าใจวิธีการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำรวมถึงการจัดและตกแต่งตู้เลี้ยงปลาและพรรณไม้น้ำสวยงาม มีทักษะในการการคัดเลือกและเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ เข้าใจหลักการสืบพันธุ์ของปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำสวยงามกลุ่มต่างๆ รู้และเข้าใจเรื่องอาหารและการให้อาหารปลาสวยงาม รู้และเข้าใจโรคปลาสวยงามและวิธีการรักษาป้องกัน รู้แนวทางการส่งออกนำเข้าลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ เห็นความสำคัญของอาหารสัตว์น้ำต่อระบบการเลี้ยงสัตว์น้ำ
การปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ  เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ  การคัดเลือกและเพาะเลี้ยงปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ  อาหารปลาสวยงาม โคปลาสวยงามและวิธีการรักษาป้องกัน แนวทางการส่งออกนำเข้าปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจ
วัน พุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง พักครูสาขาวิชาประมง  โทร 081-9829578
e-mail; supaphon63@hotmail.co.th  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.3 ,1.4
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียน การทำงาน และการนำเอาความรู้ที่ได้จากวิชาปลาสวยงามและพันธุ์ไม้น้ำไปใช้ในชีวิตจริง
- มอบหมายให้ทำรายงานเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม
- อภิปรายกลุ่ม
- ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2.1
- บรรยายเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำเศรษฐกิจทางประมงที่น่าสนใจ และสร้างรายได้
-  มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าบทความ ความรู้ใหม่ๆ หรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปลาสวยงาม
- มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
- ประเมินผลจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล ความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
- ประเมินพฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานตามกำหนดเวลา
3.2
- มีบทปฏิบัติการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติจริงเพื่อสร้างทักษะ
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา โดยแบ่งกลุ่มนักศึกษาให้มีการระดมสมองในการแก้ไขปัญหา และวิจารณ์ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
- ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน
- การทดสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค
-  การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
4.2
- มอบหมายงานทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
- แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ กำหนดหัวหน้ากลุ่มหมุนเวียนภายในกลุ่ม
- ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมายทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
-ตรวจสอบความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
- สังเกตและให้นักศึกษาประเมินการทำงานของสมาชิกในกลุ่ม รวมทั้งนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชาทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
5.1
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทั้งจากอินเตอร์เน็ต, หนังสือในห้องสมุด และแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เหมาะสม
- การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
- ทำรายงานโดยเน้นแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
- นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  เช่น การใช้ Power point ที่เข้าใจ
- ทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงานและการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมและความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอเข้าใจง่าย   
6.2
- อธิบายวิธีการปฏิบัติ และลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
- สาธิตและแนะนำทักษะการปฏิบัติ กำชับการควบคุมระหว่างกระบวนการปฏิบัติ และมีการสอบภาคปฏิบัติ
- ประเมินความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม
- ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 23013404 ปลาสวยงามและพรรณไม้น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3 - บันทึกเข้าเรียนและการมีส่วนร่วม ตลอดภาคเรียน 10%
2 2.1.1, 2.1.2, 3.1.2 - ข้อสอบปรนัย 9, 17 25%
3 2.1.1,2.1.2, 3.1.2, 5.1.3 - ข้อสอบปรนัย 9, 17 25%
4 1.1.3, 1.1.4, 2.1.2,3.1.2, 4.1.2, 5.1.1, 5.1.3 - การประเมินผลงานรายบุคคลและ/หรือรายกลุ่ม (เอกสาร รายงาน) 1- 8, 10-16 15%
5 1.1.3, 3.1.2, 4.1.2, 4.1.4 - การสังเกตพฤติกรรมและประเมินการปฏิบัติงาน ตลอดภาคเรียน 20%
6 1.1.3, 1.1.4, 3.1.2, 4.1.2, 5.1.1 - การสังเกตการณ์ทำงานกลุ่ม ตลอดภาคเรียน 2.5%
7 1.1.3, 1.1.4, 4.1.2 - การสังเกตในสถานการณ์จริง (จากผู้ร่วมงาน) ตลอดภาคเรียน 2.5%
บทความเกี่ยวกับปลาสวยงาม ชนิด การเพาะพันธุ์และการเลี้ยง  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมขอเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน   การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ  4