การสร้างกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัย และการสร้างนวัตกรรม

Creation of Scientific Methods for Research and Innovation

เข้าใจการหาข้อมูลโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เข้าใจกระบวนการวิเคราะห์และสรุปผลโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถสังเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล การวิเคราะห์ การสรุปผล โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถออกแบบงานวิจัยและนวัตกรรม
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาและพัฒนาทักษะทางด้านการหาข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผล โดยใช้กระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อเตรียมพร้อมให้กับผู้เรียนในการนำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการวิจัยหรือสร้างสรรค์นวัตกรรมต่อไป
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
     1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
 
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
 
 
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
  2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 ˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š 2.3 มีสามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
1. การสอบย่อย
2. การนำเสนอผลงาน
3. รายงาน
4. ผลงานนิทรรศการ
š 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
1. การสอบย่อย
2. การนำเสนอผลงาน
3. รายงาน
4. ผลงานนิทรรศการ
   4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
   4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
1. การสอบย่อย
2. การนำเสนอผลงาน
3. รายงาน
4. ผลงานนิทรรศการ
   5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
1. การสอบย่อย
2. การนำเสนอผลงาน
3. รายงาน
4. ผลงานนิทรรศการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 GEBSC104 การสร้างกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัย และการสร้างนวัตกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 5
2 1.2,2.3,3.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 16 10
3 2.3,3.2,4.3,5.2 1. Case Study 2. Expressive Activity 1-11 15
4 2.3,3.2,4.3,5.2 present 1-15 20
5 2.3,3.2,4.3,5.2 Projectt 12-16 30
6 1.2,2.3 test 9,16 20
7 1. Case Study 2. Expressive Activity 3. Oral Presentation 7 5
8 1. Case Study 2. Expressive Activity 3. Oral Presentation 8 5
9 TEST 9 5
10 1. Case Study 2. Expressive Activity 3. Oral Presentation 10 5
11 1. Case Study 2. Expressive Activity 3. Oral Presentation 11 5
12 1. Project 12 5
13 1. Project 13 10
14 Project 14 10
15 Project 15 10
16 TEST 16 10
16 TEST 16 10
เอกสารประกอบการเรียนการสอน และข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลสื่อสิ่งพิมพ์ และข้อมูลสื่อออนไลน์ เป็นต้น
ข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลสื่อสิ่งพิมพ์ และข้อมูลสื่อออนไลน์ เป็นต้น
เอกสารประกอบการเรียนการสอน และข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลสื่อสิ่งพิมพ์ ข้อมูลสื่อออนไลน์ และข้อมูลจากการสอบถามสัมภาษณ์ เป็นต้น
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การถาม ตอบระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
แบ่งกลุ่มทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการสอบ
การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของทีมผู้สอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4