เทคโนโลยีการก่อสร้าง 4

Construction Technology 4

1.    เข้าใจหลักการ วิธีการก่อสร้าง รายละเอียดของอาคารในระบบอุตสาหกรรม

2.    เข้าใจวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลวัสดุก่อสร้างในระบบประสานพิกัดกับระบบอุตสาหกรรม

3.    มีทักษะในการเขียนแบบก่อสร้างในระบบประสานพิกัด

4.    มีจิตสำนึกที่ดีต่อการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างให้เกิดความประหยัดต่อเศรษฐกิจ  
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการ วิธีการก่อสร้าง รายละเอียดของอาคารในระบบอุตสาหกรรม วิเคราะห์วัสดุในระบบประสานพิกัด จัดทำแบบก่อสร้างที่คำนึงถึงความประหยัดทางเศรษฐกิจ

1.    คุณธรรมและจริยธรรมที่ต้องพิจารณา ฝึกให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีระเบียบวินัย และตรงต่อเวลา

2.    ความรู้ ฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าและนำเสนอวิธีการก่อสร้างในระบบอุตสาหกรรม รู้จักเปรียบเทียบและนำไปประยุกต์ใช้กับการเรียน เพื่อพัฒนาความรู้ของตน

3.    ทักษะทางปัญญา ส่งเสริมให้อาจารย์และนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างในระบบสำเร็จรูป

4.    ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ เน้นย้ำความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ระเบียบวินัย และความตรงต่อเวลา

5.    ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศ สนับสนุนให้นักศึกษาใช้โปรแกรมวิเคราะห์ตัวเลขทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการก่อสร้าง ระยะเวลาการก่อสร้าง และการใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศ
ศึกษาหลักการ วิธีการก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง องค์ประกอบและรายละเอียดของอาคารในระบบอุตสาหกรรม ระบบประสานพิกัด ฝึกปฏิบัติเขียนแบบอาคารในระบบอุตสาหกรรม และศึกษาดูงานนอกสถานที่
อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความตองการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีจิตสำนึกที่ดีต่อการเลือกใช้วัสดุในการเขียนแบบก่อสร้างอาคารที่อยู่ในระบบอุตสาหกรรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณสมบัติของหลักสูตรดังนี้

มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1    บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบสถาปัตยกรรมในระบบอุตสาหกรรม

1.2.2    อภิปรายกลุ่ม

1.2.3    กำหนดให้นักศึกษาค้นหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ความตรงต่อเวลา

1.3.2    มีการอ้างอิงเอกสารที่ใช้ประกอบการทำรายงานอย่างถูกต้อง

1.3.3    ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา

1.3.4    ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย  
2.1.1    มีความรู้และความเข้าใจทั้งทฤษฎีและหลักปฏิบัติตามเนื้อหาที่ศึกษา

2.1.2    สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา

2.1.3    สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอโดยมอบหมายงานให้นักศึกษาติดตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการก่อสร้าง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1    ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นวัดหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบูรณาการกับวิชาออกแบบสถาปัตยกรรม

2.3.2    ประเมินจากการนำเสนอผลงานจากการปฏิบัติของผู้เรียน  
3.1.1    มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ใช้ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ

3.1.2    มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1    มอบหมายให้นักศึกษาจัดทำโครงการออกแบบก่อสร้างอาคารในระบบสำเร็จรูป วิเคราะห์โครงสร้าง Design-detail การเลือกใช้วัสดุ และนำเสนอผลงาน

3.2.2    อภิปรายกลุ่ม

3.2.3    วิเคราะห์กรณีศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.3.1    สอบกลางภาค และปลายภาค

3.3.2    ประเมินจากโครงการออกแบบก่อสร้าง และการนำเสนอผลงานภาคปฏิบัติ

3.3.3    สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1    มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพ

4.1.2    สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1    จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา

4.2.2    มอบหมายงานกลุ่ม ประกอบด้วยการค้นคว้าข้อมูล การศึกษาข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาเป็นแนวทางในการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา

4.2.3    การนำเสนอรายงาน
4.3.1    ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานและรายงานที่นักศึกษานำเสนอ

4.3.2    ประเมินจากรายงานที่มอบหมายให้นักศึกษา ประกอบด้วยการค้นคว้าข้อมูล การศึกษาข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมทั้งการนำเสนอผลงาน
5.1.1    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม

5.1.2    สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1    มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอน E-Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

5.2.2    นำเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษาะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏี และหลักการปฏิบัติ ในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้า ทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ฝึกมากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3.สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 42013304 เทคโนโลยีการก่อสร้าง 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 / 1.6 1.7 / 2.1 2.4 - 2.6 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1/ 1.6 1.7 / 2.1 2.4 - 2.6 3.2 / 4.1 4.6 / 5.3 - 5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษา, นำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานที่ได้รับ การอ่านและสรุปเป็นบทความ การส่งงานที่ได้รับการมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 - 1.7 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 10%
กิติพงศ์ พลจันทร์ และ ทัต สัจจะวาที. 2556. ก่อสร้างอาคารบรรยายพร้อมภาพ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น
เรื่องศักดิ์ กันตบุตร. 2540. การออกแบบระบบประสานพิกัด. เอกสารประกอบการสอน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สภาวิศวกร. 2556. การก่อสร้างโครงสร้างสำเร็จรูป
ไม่มี
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
https://precast.rmutl.ac.th
http://thai-engineers.blogspot.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำเสนอแนวคิด และความเห็นจากนักนักศึกษาดังนี้

1.1    การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

1.2    แบบประเมินรายวิชา และแบบประเมินผู้สอน

1.3    ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้

2.1    การสังเกตการณ์การสอนของผู้ร่วมทีม

2.2    ผลการเรียนของนักศึกษา

2.3    การทวนสอบผลประมวลการเรียนรู้
หลังจากประเมินการสอนในข้อ 2 แล้ว จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยจัดกิจกรรมระดมความคิด และหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงการสอนดังนี้

3.1    สัมมนาการจัดการเรียนการสอน

3.2    การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ระหว่างการสอนในรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ จากการสอบถามนักศึกษา การสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา พิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และเมื่อประกาศผลการเรียนแล้วมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมดังนี้

4.1    การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์นอกรายวิชา หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร

4.2    มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบ ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และคะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดรายวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพยิ่งขึ้นดังนี้

5.1    ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม ข้อ 4

5.2    เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในการประยุกต์ความรู้เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรืออุตสาหกรรมต่างๆ