การทำแบบตัดบนหุ่น

Draping

1.1มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างแบบตัดบนหุ่นยืน กระโปรง  กางเกง สูทปกและแขนเสื้อ  รูปแบบต่างๆ
1.2  ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการออกแบบและกระบวนการผลิตแบบตัดบนหุ่นยืน
1.3  มีทักษะในการนำเสนอผลงานการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกายแฟชั่น และ นำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบเครื่องแต่งกาย
1.1มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างแบบตัดบนหุ่นยืน กระโปรง  กางเกง สูทปกและแขนเสื้อ  รูปแบบต่างๆ
1.2  ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการออกแบบและกระบวนการผลิตแบบตัดบนหุ่นยืน
1.3  มีทักษะในการนำเสนอผลงานการออกแบบเครื่องประกอบการแต่งกายแฟชั่น และ นำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบเครื่องแต่งกาย
เพื่อให้นักศึกษาศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานการออกแบบตกแต่งเครื่องแต่งกาย และการสร้างแบบเสื้อผ้าบนตัวหุ่น เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะการออกแบบ ในรายวิชาอื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง  อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานสากล
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างแบบตัดบนหุ่นยืน  เสื้อ  กระโปรง  กางเกง สูทปกและแขนเสื้อ  รูปแบบต่างๆและนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบเครื่องแต่งกาย
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งเวลาในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน  
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
ให้ความสำคัญ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมที่ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต การทำงาน พร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน พฤติกรรมระหว่างเรียน
              2.1.1   มีความรู้ความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
บรรยาย  ยกตัวอย่างทฤษฎี และนำไปประยุกต์ปฏิบัติงานโครงงานและสอนให้นักศึกษาฝึกคิดสร้างสรรค์ บูรณาการกับผู้ประกอบการร้านค้าแฟชั่นจริง
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบและการปฏิบัติออกแบบและตัดเย็บเสื้อผ้า และเครื่องประดับตกแต่งเครื่องแต่งกาย
 ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์แต่ละอาทิตย์ และ โครงการตัวสุดท้าย
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2.1  บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และออกแบบ ตัดเย็บ นำเสนอ การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นการสอบปฏิบัติ วิเคราะห์ ออกแบบ ตัดเย็บ และ นำเสนอผลงาน ดูผลจากการประเมินชิ้นงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา ออกแบบเชิงสร้างสรรค์
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือนำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสร้าง Blog ในการนำเสนอ
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43042038 การทำแบบตัดบนหุ่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 9 17 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 15% 15%
2 1-8 10-16 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1-7 9-15 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. การทำแบบเสื้อผ้าบนตัวหุ่น : Draping for Apparel.
กรุงเทพ:  สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,  2011. 
2. Connie Crawford.The Art of Fashion Draping .
      United Kingdom:  Thames & Hudson ,  2010
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   ประยุกต์ทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อเป็นหลักในการสอนและเรียนรู้จริงที่มีประสิทธิภาพ
3.2  ทบทวนเนื้อหาและศึกษาวิธีการสอนจากมหาวิทยาลัยสากลนำมาปรับประยุกต์ใช้ใน การสอนให้ เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
3.3 สอดแทรกเนื้อหาใหม่ที่ตรงกับแนวโน้มปัจจุบันและอนาคต
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์มหาวิทยาลัยและเกณฑ์จากผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพ
4.2   ประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   พิจารณาปรับปรุงตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุติประจำหลักสูตรหรือผู้เชี่ยวชาญวิชาชีพที่มี ประสิทธิภาพ จริงต่อการทำงาน
5.3  การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิช