ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า
Electrical Machines Laboratory
1.1 การทดลองที่ 1 หม้อแปลงไฟฟ้า
1.1.1 เพื่อสามารถหาพารามิเตอร์ต่าง ๆ ในวงจรสมมูลย์หม้อแปลง
1.1.2 เพื่อสามารถหา Voltage Regulation ได้
1.1.3 เพื่อสามารถหาขั้วของหม้อแปลงได้
1.1.4 เพื่อสามารถต่อวงจรหม้อแปลง 3 เฟสจากหม้อแปลง 1 เฟสได้
1.1.5 เพื่อสามารถหากลุ่มเวคเตอร์ของหม้อแปลงไฟฟ้าสามเฟสได้
1.2 การทดลองที่ 2 การควบมอเตอร์ด้วยแมคเนติก คอนแทรคเตอร์
1.2.1ได้รู้จักวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมมอเตอร์ด้วยแมคเนติกคอนแทรคเตอร์
1.2.2 สามารถควบคุมมอเตอร์ด้วยแมคเนติกคอนแทรคเตอร์ได้
1.2.3 สามารถออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ได้
1.3 การทดลองที่ 3 เครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส 1
1.3.1 เพื่อให้เดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในลักษณะต่างๆกัน รวมทั้งเป็นการ Synchronous capacitor และ Synchronous inductor ได้
1.3.2 เพื่อให้เดินเครื่องเป็น Synchronous motor แล้วหา V-curve
1.3.3 เพื่อหาประสิทธิภาพของ Synchronous motor
1.4 การทดลองที่ 4 เครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส 2
1.4.1 เพื่อหาค่ารีแอกแตนซ์ของเครื่องกลแบบซิงโครนัสได้
1.4.2 เพื่อหาโวลท์เตจเรกกูเลชั่นของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบซิงโครนัสได้
1.4.3 เพื่อศึกษาวิธีการซิงโครไนส์ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับระบบไฟฟ้าได้
1.4.4 เพื่อหาขอบเขตการทำงานของเครื่องกลแบบซิงโครนัสจากผังการทางาน (Operating chart) ได้
1.5 การทดลองที่ 5 มอเตอร์เหนี่ยวนาแบบวาวด์โรเตอร์
1.5.1 สามารถหาวงจรเทียบเคียง ของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบวาวด์โรเตอร์ได้
1.5.2 สามารถต่อวงจรการทางานของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบวาวด์โรเตอร์ได้
1.5.3 สามารถอ่านข้อมูลพิกัด Name Plate ของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบวาวด์โรเตอร์ได้
1.5.4 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของความเร็วรอบและแรงบิด n = f(T)
1.5.5 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของ n , I, PF, ŋ, Pout เทียบกับแรงบิด
1.6 การทดลองที่ 6 เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนาแบบกรงกระรอก 1
1.6.1 สามารถหาวงจรเทียบเคียง ของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบกรงกระรอกได้
1.6.2 สามารถต่อวงจรการทา งานของมอเตอร์เหนี่ยวนา แบบกรงกระรอกได้
1.6.3 สามารถอ่านข้อมูลพิกัด Name Plate ของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบกรงกระรอกได้
1.6.4 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของความเร็วรอบและแรงบิด n = f(T)
1.6.5 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของ n , I, PF, ŋ, Pout เทียบกับแรงบิด
1.7 การทดลองที่ 7 เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนาแบบกรงกระรอก 2
1.7.1 เพื่อตรวจสอบหาขั้วของมอเตอร์เหนี่ยวนา แบบกรงกระรอก
1.7.2 เพื่อตรวจสอบสภาพผิดปกติของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบกรงกระรอก
1.7.3 เพื่อทดสอบการทา งานของเครื่องกา เนิดไฟฟ้ าเหนี่ยวนา แบบกรงกระรอกแบบกระตุ้นตัวเอง
1.8 การทดลองที่ 8 รีลักแตนซ์มอเตอร์
1.8.1 รู้โครงสร้าง หลักการทา งานของ Reluctance Motor
1.8.2 ต่อวงจรการทา งานของมอเตอร์ไฟฟ้ า Reluctance Motor ได้
1.8.3 สามารถอ่านข้อมูลพิกัด Name Plate ของ Reluctance Motor ได้
1.8.4 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของความเร็วรอบและแรงบิด n = f(T)
1.8.5 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของ n , I, PF, ŋ, Pout เทียบกับแรงบิด
1.9 การทดลองที่ 9 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
1.9.1 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
1.9.2 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงความเร็วและแรงดันของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
1.9.3 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
1.9.4 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
1.10 การทดลองที่ 10 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
1.10.1 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนานชนิดกระตุ้นแยก
1.10.2 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนานชนิดกระตุ้นด้วยตัวเอง
1.10.3 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม
1.10.4 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
1.1.1 เพื่อสามารถหาพารามิเตอร์ต่าง ๆ ในวงจรสมมูลย์หม้อแปลง
1.1.2 เพื่อสามารถหา Voltage Regulation ได้
1.1.3 เพื่อสามารถหาขั้วของหม้อแปลงได้
1.1.4 เพื่อสามารถต่อวงจรหม้อแปลง 3 เฟสจากหม้อแปลง 1 เฟสได้
1.1.5 เพื่อสามารถหากลุ่มเวคเตอร์ของหม้อแปลงไฟฟ้าสามเฟสได้
1.2 การทดลองที่ 2 การควบมอเตอร์ด้วยแมคเนติก คอนแทรคเตอร์
1.2.1ได้รู้จักวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมมอเตอร์ด้วยแมคเนติกคอนแทรคเตอร์
1.2.2 สามารถควบคุมมอเตอร์ด้วยแมคเนติกคอนแทรคเตอร์ได้
1.2.3 สามารถออกแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ได้
1.3 การทดลองที่ 3 เครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส 1
1.3.1 เพื่อให้เดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้าในลักษณะต่างๆกัน รวมทั้งเป็นการ Synchronous capacitor และ Synchronous inductor ได้
1.3.2 เพื่อให้เดินเครื่องเป็น Synchronous motor แล้วหา V-curve
1.3.3 เพื่อหาประสิทธิภาพของ Synchronous motor
1.4 การทดลองที่ 4 เครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส 2
1.4.1 เพื่อหาค่ารีแอกแตนซ์ของเครื่องกลแบบซิงโครนัสได้
1.4.2 เพื่อหาโวลท์เตจเรกกูเลชั่นของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบซิงโครนัสได้
1.4.3 เพื่อศึกษาวิธีการซิงโครไนส์ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเข้ากับระบบไฟฟ้าได้
1.4.4 เพื่อหาขอบเขตการทำงานของเครื่องกลแบบซิงโครนัสจากผังการทางาน (Operating chart) ได้
1.5 การทดลองที่ 5 มอเตอร์เหนี่ยวนาแบบวาวด์โรเตอร์
1.5.1 สามารถหาวงจรเทียบเคียง ของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบวาวด์โรเตอร์ได้
1.5.2 สามารถต่อวงจรการทางานของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบวาวด์โรเตอร์ได้
1.5.3 สามารถอ่านข้อมูลพิกัด Name Plate ของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบวาวด์โรเตอร์ได้
1.5.4 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของความเร็วรอบและแรงบิด n = f(T)
1.5.5 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของ n , I, PF, ŋ, Pout เทียบกับแรงบิด
1.6 การทดลองที่ 6 เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนาแบบกรงกระรอก 1
1.6.1 สามารถหาวงจรเทียบเคียง ของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบกรงกระรอกได้
1.6.2 สามารถต่อวงจรการทา งานของมอเตอร์เหนี่ยวนา แบบกรงกระรอกได้
1.6.3 สามารถอ่านข้อมูลพิกัด Name Plate ของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบกรงกระรอกได้
1.6.4 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของความเร็วรอบและแรงบิด n = f(T)
1.6.5 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของ n , I, PF, ŋ, Pout เทียบกับแรงบิด
1.7 การทดลองที่ 7 เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนาแบบกรงกระรอก 2
1.7.1 เพื่อตรวจสอบหาขั้วของมอเตอร์เหนี่ยวนา แบบกรงกระรอก
1.7.2 เพื่อตรวจสอบสภาพผิดปกติของมอเตอร์เหนี่ยวนาแบบกรงกระรอก
1.7.3 เพื่อทดสอบการทา งานของเครื่องกา เนิดไฟฟ้ าเหนี่ยวนา แบบกรงกระรอกแบบกระตุ้นตัวเอง
1.8 การทดลองที่ 8 รีลักแตนซ์มอเตอร์
1.8.1 รู้โครงสร้าง หลักการทา งานของ Reluctance Motor
1.8.2 ต่อวงจรการทา งานของมอเตอร์ไฟฟ้ า Reluctance Motor ได้
1.8.3 สามารถอ่านข้อมูลพิกัด Name Plate ของ Reluctance Motor ได้
1.8.4 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของความเร็วรอบและแรงบิด n = f(T)
1.8.5 หาคุณลักษณะความสัมพันธ์ของ n , I, PF, ŋ, Pout เทียบกับแรงบิด
1.9 การทดลองที่ 9 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
1.9.1 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
1.9.2 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงความเร็วและแรงดันของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
1.9.3 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
1.9.4 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
1.10 การทดลองที่ 10 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
1.10.1 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนานชนิดกระตุ้นแยก
1.10.2 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนานชนิดกระตุ้นด้วยตัวเอง
1.10.3 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม
1.10.4 เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงโหลดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและสามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก้าวทันเทคโนโลยีใหม่ๆ
ปฏิบัติการเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนในวิชา 32082202 เครื่องจักรกลไฟฟ้า 1 และ 32082303 เครื่องจักรกลไฟฟ้า 2 ดังนี้ หม้อแปลงหนึ่งเฟสและสามเฟส เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องจักรกลไฟฟ้า แบบซิงโครนัส เครื่องจักรไฟฟ้าแบบเหนี่ยวนาหนึ่งเฟสและสามเฟส รีลักแตนซ์มอเตอร์การป้องกันเครื่องจักรกลไฟฟ้า และการควบมอเตอร์ด้วยแมคเนติก คอนแทรคเตอร์
- อาจารย์ประจำรายวิชาไห้คำปรึกษาด้วยการติดต่อด้วยตนเองหรือโทรศัพท์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ รักษ์สิ่งแวดล้อม มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ รู้จักประหยัดพลังงานต่าง ๆ เพื่อลดโลกร้อน โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามสามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างการพัฒนาควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามสามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างการพัฒนาควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายการใช้งานห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า กฎระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ และความปลอดภัย ก่อนลงมือปฏิบัติจริง
1.2.2 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 10 กลุ่ม เพื่อลงมือปฏิบัติจริงตามใบงานการทดลองทั้ง 10 การทดลองโดยเวียนกลุ่มจนครบการทดลองทั้งหมด
1.2.3 อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการนาเสนอผลการทดลอง
1.2.2 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 10 กลุ่ม เพื่อลงมือปฏิบัติจริงตามใบงานการทดลองทั้ง 10 การทดลองโดยเวียนกลุ่มจนครบการทดลองทั้งหมด
1.2.3 อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการนาเสนอผลการทดลอง
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
1.3.3 สอบปลายภาคเป็นรายบุคคล โดยทาการสุ่มการใบงานทดลอง
1.3.4 ประเมินผลการนาเสนอผลการทดลองที่มอบหมาย
1.3.2 การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
1.3.3 สอบปลายภาคเป็นรายบุคคล โดยทาการสุ่มการใบงานทดลอง
1.3.4 ประเมินผลการนาเสนอผลการทดลองที่มอบหมาย
หม้อแปลงหนึ่งเฟสและสามเฟส เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ เครื่องจักรกลไฟฟ้า แบบซิงโครนัส เครื่องจักรไฟฟ้าแบบเหนี่ยวนาหนึ่งเฟสและสามเฟส รีลักแตนซ์มอเตอร์การป้องกันเครื่องจักรกลไฟฟ้า และการควบมอเตอร์ด้วยแมคเนติก คอนแทรคเตอร์
ลงปฏิบัติตามใบงานการทดลอง ดังต่อไปนี้
การทดลองที่ 1 หม้อแปลงไฟฟ้า
การทดลองที่ 2 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
การทดลองที่ 3 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
การทดลองที่ 4 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
การทดลองที่ 5 ซิงโครนัสมอเตอร์
การทดลองที่ 6 มอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส
การทดลองที่ 7 มอเตอร์เหนี่ยวนำ 1 เฟส
การทดลองที่ 8 การควบมอเตอร์ด้วยแมคเนติก คอนแทรคเตอร์
ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อลงมือปฏิบัติจริงตามใบงานการทดลอง
การทดลองที่ 1 หม้อแปลงไฟฟ้า
การทดลองที่ 2 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
การทดลองที่ 3 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
การทดลองที่ 4 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
การทดลองที่ 5 ซิงโครนัสมอเตอร์
การทดลองที่ 6 มอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส
การทดลองที่ 7 มอเตอร์เหนี่ยวนำ 1 เฟส
การทดลองที่ 8 การควบมอเตอร์ด้วยแมคเนติก คอนแทรคเตอร์
ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเพื่อลงมือปฏิบัติจริงตามใบงานการทดลอง
2.3.1 สอบปลายภาคเป็นรายบุคคล โดยทาการสุ่มการใบงานทดลอง แล้วปฏิบัติจริง
2.3.2 สังเกตพฤติกรรมในการเรียนว่าเข้าใจและสักถามมากน้อยเพียงใด
2.3.3 สังเกตจากความถูกต้องในการทาการทดลอง
2.3.2 สังเกตพฤติกรรมในการเรียนว่าเข้าใจและสักถามมากน้อยเพียงใด
2.3.3 สังเกตจากความถูกต้องในการทาการทดลอง
พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้าน สารารถวิเคราะห์และสรุปผลการทดสอบในแต่ละการทดลองได้ สามารถนาเสนอผลการทดลองได้อย่างถูกต้องสอดคล้องกับภาคทฤษฎี
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทารายงานการวิเคราะห์และสรุปผลการทดสอบในแต่ละการทดลอง
3.2.2 นาเสนอผลการทดลองเป็นกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์ความแตกต่างของเครื่องจักรกลไฟฟ้าแต่ละชนิด และการเลือกใช้งาน
3.2.4 การสรุปและสะท้อนแนวคิดต่าง ๆ ที่หลากหลาย
3.2.2 นาเสนอผลการทดลองเป็นกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์ความแตกต่างของเครื่องจักรกลไฟฟ้าแต่ละชนิด และการเลือกใช้งาน
3.2.4 การสรุปและสะท้อนแนวคิดต่าง ๆ ที่หลากหลาย
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ความแตกต่างของเครื่องจักรกลไฟฟ้าแต่ละชนิด
3.3.2 วัดผลจากรายงานการทดลองในแต่ละการทดลอง
3.3.3 วัดผลจากการนาเสนอผลการทดลองเป็นกลุ่ม
3.3.2 วัดผลจากรายงานการทดลองในแต่ละการทดลอง
3.3.3 วัดผลจากการนาเสนอผลการทดลองเป็นกลุ่ม
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบตามกาหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบตามกาหนดเวลา
4.2.1 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 10 กลุ่ม เพื่อลงมือปฏิบัติจริงตามใบงานการทดลองทั้ง 10 การทดลอง
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มหรือรายบุคคล เช่น ขั้นตอนการทดสอบหม้อแปลงไฟฟ้าอ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนาเสนอรายงาน
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มหรือรายบุคคล เช่น ขั้นตอนการทดสอบหม้อแปลงไฟฟ้าอ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนาเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่มอบมายและการมีส่วนร่วมภายในกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากการนาเสนอรายงาน
4.3.2 ประเมินจากการนาเสนอรายงาน
5.1.1 ทักษะการคิดคานวณ เชิงตัวเลข โดยใช้แบบทดสอบ สูตรการคานวณต่าง ๆ
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทารายงาน และนาเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา จากกการค้นคว้าข่าวสารต่าง ๆ
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.6 ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทารายงาน และนาเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา จากกการค้นคว้าข่าวสารต่าง ๆ
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.6 ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
5.2.1 ทาการคานวณตามการทดลองต่างๆ และพล๊อตกราฟ ให้สอดคล้องตามทฤษฎี
5.2.2 นาเสนอการทดลองโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
5.2.2 นาเสนอการทดลองโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
5.3.1 ประเมินจากรายงานการทดลอง
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเองและความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตวิศวกรรมไฟฟ้า ดังนั้น ในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ดังข้อต่อไปนี้
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1, ·)
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.2)
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเองและความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตวิศวกรรมไฟฟ้า ดังนั้น ในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ดังข้อต่อไปนี้
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1, ·)
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.2)
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชา ต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน การประกอบ การวัดและทดสอบวงจรในการปฏิบัติการทดลอง
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 สนับสนุนการการทำโครงงานในรายวิชาในรูปแบบของ Term Project ในรูปแบบงานกลุ่ม
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน การประกอบ การวัดและทดสอบวงจรในการปฏิบัติการทดลอง
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 สนับสนุนการการทำโครงงานในรายวิชาในรูปแบบของ Term Project ในรูปแบบงานกลุ่ม
6.3.1 มีการประเมินทักษะด้านต่างๆ ในการปฏิบัติการทดลอง (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1)
6.3.2 มีการประเมินผลการปฏิบัติการในใบงานการทดลอง โดยมีการเตรียมการทดลอง การประกอบวงจร การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐาน การวัดและทดสอบวงจรและสรุปผลการทดลอง ตามที่ระบุในแต่ละใบงานการทดลอง (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1)
6.3.3 มีการประเมินโครงงานในรายวิชาในรูปแบบของ Term Project ในรูปแบบงานกลุ่ม (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1, 6.2)
6.3.2 มีการประเมินผลการปฏิบัติการในใบงานการทดลอง โดยมีการเตรียมการทดลอง การประกอบวงจร การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐาน การวัดและทดสอบวงจรและสรุปผลการทดลอง ตามที่ระบุในแต่ละใบงานการทดลอง (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1)
6.3.3 มีการประเมินโครงงานในรายวิชาในรูปแบบของ Term Project ในรูปแบบงานกลุ่ม (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1, 6.2)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1 คุณธรรมจริยธรรม | 2 ความรู้ | 3 ทักษะทางปัญญา | 4 ความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ | 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ | 6 ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | 32082304 | ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1-2.3 | สอบปฏิบัติ | 14-15 | 70% |
2 | 2.1-2.5 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | 2.1,2.4 2.1-2.5 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
ใบงานการทดลองเครื่องจักรกลไฟฟ้า ELWE
คู่มือ/เฉลยใบงานการทดลองเครื่องจักรกลไฟฟ้า ELWE
ข้อมูลออนไลน์เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรงและเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านกระดานเสวนา ในระบบอีเลิร์นนิ่ง
1.4 ประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา ผ่านระบบไอทีของมหาวิทยาลัย
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านกระดานเสวนา ในระบบอีเลิร์นนิ่ง
1.4 ประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา ผ่านระบบไอทีของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียน การร่วมกิจกรรม ผลแบบทดสอบ ผลการสอบของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียน การร่วมกิจกรรม ผลแบบทดสอบ ผลการสอบของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
1.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
1.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
1.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ