การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

Plant Tissue Culture

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. รู้ถึงประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
๒. เข้าใจการเตรียมห้องและเครื่องมือในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
๓. เข้าใจการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
๔. เข้าใจการเลือกชิ้นส่วนและการแยกเนื้อเยื่อพืช
๕. เข้าใจเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
๖. เข้าใจขั้นตอนการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเนื้อเยื่อพืช
๗. เข้าใจวิธีการนำต้นอ่อนออกปลูก
ปรับปรุงเนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชาโดยเพิ่มเติมงานวิจัยใหม่
ศึกษาและฝึกปฏิบัติถึงหลักการและเทคนิคขั้นพื้นฐานของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ประโยชน์ของเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเตรียมห้องและเครื่องมือในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช อาหาร การเลือกชิ้นส่วนพืชและการแยกเนื้อเยื่อพืช การนำชิ้นส่วนพืชเริ่มต้นไปเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ การย้ายและเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก ธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตร
1 ชั่วโมง/สัปดาห์         ห้อง 923 โทร 0896405339
    หรือ e-mail: sureerat_agi@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติ     ที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และรับฟังความคิดเห็นของ     นักศึกษา การเคารพ และให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในโอกาสที่สาขา/คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส และอาจารย์ 
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และ        การส่งรายงาน
- ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศีกษาอื่นๆ ในรายวิชา
- นักศึกษาประเมินตนเอง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยาย ร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม  การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต  เป็นต้น
- เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ
- การสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- ทำรายงานรายบุคคล
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษา
- ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
- รายงานกลุ่ม
- การสอบข้อเขียนกลางภาค และปลายภาค
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานของนักศึกษา
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล       และด้านความรับผิดชอบ
- ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
- ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการตอบในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
1 21011331 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
รัชนี คุณานุวัฒน์ชัยเดช. 2546.  เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลำปาง กระทรวงศึกษาธิการ, ลำปาง. 131 น.
อภิชาติ ชิดบุรี.  2544.  เอกสารประกอบการการสอนรายวิชาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 130 น.
1. คำนูญ  กาญจนภูมิ. 2542. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 162 หน้า 2. คำนูญ  กาญจนภูมิ. 2545. เทคโนโลยีโพรโทพลาสต์ของพืช. สำนักพิมพ์แห่งจุฬา-  ลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 116 หน้า 3. ชลิต  พงศ์ภุสมิทธ์. 2532. เทคโนโลยีการผลิตเนื้อเยื่อพืช. คณะผลิตกรรมการเกษตร  สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้, เชียงใหม่. 146 หน้า 4. นพพร  สายัมพล. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 หน้า 5. บุญยืม  กิจวิธารณ์.  2540.  เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช.  ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 165  หน้า 6. ประศาสตร์  เกื้อมณี. 2536. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 158 หน้า. 7. ประสาทพร  สมิตะมาน. 2541. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ : เทคนิคและการประยุกต์ใช้. สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 141 หน้า. 8. ประสาทพร  สมิตะมาน. 2541. โปรโตพลาสต์เทคโนโลยี. สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 196 หน้า. 9. ไพบูลย์ กวินเลิศวัฒนา. 2524. หลักการและวิธีการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชา        พืชสวน    คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร. 109 น. 10. ภูวดล  บุตรรัตน์. 2532. โครงสร้างภายในของพืช. ไทยวัฒนาพานิช, กรุงเทพฯ.     55 หน้า. 11. รังสฤษฏ์  กาวีต๊ะ.  2540.  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : และเทคนิค.  ภาควิชา       พืชไร่นา     คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.  นครปฐม. 319 หน้า. 12. รังสฤษดิ์  กาวีต๊ะ. 2540. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : หลักการและเทคนิค. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 219 หน้า.     13. สมปอง เตชะโต. 2536. บทปฎิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก.                 ภาควิชพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา. 121 น. 14. สมปอง  เตชะโต. 2539. เทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก. ภาควิชาพืชศาสตร์       คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  วิทยาเขตหาดใหญ่, สงขลา. 285 หน้า. 15. สนธิชัย  จันทร์เปรม. 2531. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับงานปรับปรุงพันธุ์พืช.        หน้า  42 – 51. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการหลักสูตรเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขั้นพื้นฐาน. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูก     พืชทดลอง  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. 16. สิรนุช  สามศรีจันทร์.  2540.  การกลายพันธุ์ของพืช.  ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป.คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 17. อภิชาติ  ชิดบุรี. 2544. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้เพื่อการขยายพันธุ์. หน้า       D1-D13.  ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเบื้องต้น.  สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 18. อรดี  สหวัชรนทร์. 2531. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. หน้า 1 – 24. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการหลักสูตรเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ    พืชขั้นพื้นฐาน. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม. 19. อรดี  สหวัชรินทร์. 2539. หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชาพืชสวน            คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 73 หน้า. 20. อรดี  สหวัชรินทร์.  2542.  เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช.  ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 21. อารีย์  วรัญญูวัฒก์.  2541.  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.  นครราชสีมา. 22. เอื้อพร  ไชยวรรณ. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพร เล่มที่ 1. ภาควิชาเภสัชเวท  คณะเภสัชศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 234 หน้า 23. Bornma, C.H. 1974.  Cytodifferentiation in tissue culture Department of botany And plant tissue culture research, University of Natal,    South Afriea. 337 pp.     24. Dixon, R.A. 1987. Plant cell culture a practical approach. IRL Press Limited. Oxford. 237 pp. 25. Gamborg O.L.1970. In:Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture :Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp. 26. Gamberg, O.L. and L.R. Wetter.  1975.  Plant tissue culture method.  Ottawa. Ontario, Canada. 267 pp. 27. Heller, R., S.S. Bhojwani and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture : Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp. 28. Murashige, T. 1974. Plant propagation through tissue culture.  Ann.Rev. Plant Physiol. 25 : 135 – 166. 29. Murashige T.and Skoog F.1962. In:Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture :Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp. 30 Murashige, T. and F.  Skoog, 1962. Arevised medium for rapid growth and bioassays With tobacco tissue cultures. Physiol Plant. 15 473-479. 31. Nagao, T. 1979. Somatic hybridization by fusion of protoplasts. II. The combination of Nicotiana tabacum and N.glutinosa of N. tabacum and N. alata. Jap.J.Crop Sci. 48 : 385 – 392. 32. Nitsch J. P.and C. Nitsch .1956. In: Street H.E. 1977. Plant Tissue and Cell Culture 1977. Blackwell Scientific Publications Oxford London England. 614 pp. 33. Pierik, R. L. M.. 1987. In vitro culture of higher plants.  Martinus Nijhoff Publishers, Dordrecht. 344 pp. 34. Reinert, J. and Y.P.S. Bajaj. 1977.  Plant Cell Tissue and Organ Culture. Springer -  Verlage, Berling. 803 pp. 35. Skoog, F. and C.O. Miller. 1957.  Chemical regulation of growth and crgan farmation In plant tissue cultured in vitro Sym. Soc. Exp. Biol.           11 : 118-131. 36. Szweykowska. A. 1974.  The role of cytokinins in the control of cell growth and differentiation In culture. In street, H.E. Tissue culture and plant science. London : Academic press. 502 pp.     37. Torrey, J.G. 1967.  Marphogemesis in relation to chromosomal constitution long-term plant  tissues. Physiol Plant 20 : 265-275. 38. White P.R.1963. In : Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue and Cell Culture. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland.      502 pp. 39. White, P.R. 1943.  Further evidence on the significance of glycine, pyridoxine and nicotinic Acid in the nutrition of excised tomato shoots. Amer.J.Bot 30 : 33-36.
Google: plant tissue culture, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
เป็นการสอนครั้งแรกของรายวิชาเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป