สัญญาณและระบบ

Signal and Systems

 1.1 เข้าใจสัญญาณและระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา
       1.2 เข้าใจหลักการแปลงซี
       1.3 เข้าใจการสุ่มสัญญาณที่ต่อเนื่องทางเวลาและการเปลี่ยนอัตราการสุ่ม
       1.4 เข้าใจการวิเคราะห์การแปลงของระบบเชิงเส้นที่ไม่แปรผันตามเวลา
       1.5 เข้าใจการแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต
       1.6 เข้าใจการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว
       1.7 เข้าใจการออกแบบวงจรกรองดิจิตอลและการประยุกต์ใช้งาน
       1.8 เห็นความสำคัญของการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน มีความเข้าใจเกี่ยวกับ สัญญาณและระบบที่มีลักษณะไม่ต่อเนื่องทางเวลา การแปลงแบบซี หลักการสุ่มสัญญาณและการสร้างสัญญาณคืน การวิเคราะห์ระบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่มีคุณสมบัติเป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา การแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว การออกแบบวงจรกรองดิจิตอลและการประยุกต์ใช้งาน เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาและการใช้งานด้านการประมวลผลสัญญาณดิจิตอลระดับสูงขึ้นไป
ศึกษาเกี่ยวกับสัญญาณและระบบที่เป็นแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา การแปลงแบบซี หลักการสุ่ม
สัญญาณและการสร้างสัญญาณคืน การเปลี่ยนอัตราการสุ่ม การวิเคราะห์ระบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่มี
คุณสมบัติเป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา การแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว
การออกแบบวงจรกรองดิจิตอล และการประยุกต์ใช้งาน
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตรดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของรายวิชาเพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ

 
 
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.4   ประเมินผลจากคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
   มีความรู้และเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับสัญญาณและระบบที่เป็นแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา การแปลงแบบซี หลักการสุ่มสัญญาณและการสร้างสัญญาณคืน การเปลี่ยนอัตราการสุ่ม การวิเคราะห์ระบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่มีคุณสมบัติเป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา การแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว การออกแบบวงจรกรองดิจิตอล และการประยุกต์ใช้งาน
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ  การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน  Problem –  based Learning  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและการนำไปปะยุกต์ใช้งาน
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์
3.1.1  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2  สามารถรวบรวม  ศึกษา วิเคราะห์  และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3  สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ  รวมถึงการใช้
          ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอด
          ชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
   3.2.1  กรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
   3.2.2  อภิปรายกลุ่ม
   3.2.3  เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
      3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือ
               วิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
      3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การน าเสนอผลงาน
     3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
                4.1.2 พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงาน 
                         เป็นทีม
                4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ
                         สังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอน และ ทำรายงาน
        โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
4.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
4.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.1.1 มีความรู้ ความชำนาญในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานได้ เป็น
        อย่างดี
5.1.2 สามารถออกแบบวงจร วิเคราะห์ปัญหา และประยุกต์ความรู้เพื่อทา งานทางวิศวกรรม
              อิเล็กทรอนิกส์ได้ดี
5.2.1 สาธิตการปฏิบัติการ
5.2.2 ปฏิบัติการตามใบงานและงานที่มอบหมาย
5.2.3 เน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
5.3.1 ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
5.3.2 ประเมินผลการท างานในภาคปฏิบัติ
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมาย คุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 10%
2 ความรู้ ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 17 10% 20% 10% 20%
3 ทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค การประเมินผลงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 9 17 ตลอดภาค การศึกษา 10%
4 ทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
5 ทักษะพิสัย พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผลการทำงานในภาคปฏิบัติ ตลอดภาค การศึกษา 10%
          ดร.วโรดม ตู้จินดา , ระบบควบคุมฝังตัว Embedded Control Systems . กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ