เรื่องเฉพาะทางเทคโนโลยีการเกษตร 1

Selected Topics in Agricultural Technology 1

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสรีรของพืช มีความเข้าใจในการควบคุมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม และ ทราบถึงงานวิจัยที่ทันสมัยเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช
เพื่อให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของนักศึกษาที่รับเข้ามา และเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในหัวข้อเฉพาะทางด้านสรีรวิทยาที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ทำการทดลองในหัวข้อหรือเรื่องที่น่าสนใจด้านเทคโนโลยีเกษตรที่เป็นความรู้หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ หัวข้อเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละภาคการศึกษา
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
          ˜ 1.1 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมที่ซับซ้อนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพโดยคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น และเมื่อไม่มีข้อมูลทางจรรยาบรรณวิชาชีพหรือไม่มีระเบียบข้อบังคับเพียงพอที่จะจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นก็สามารถวินิจฉัยอย่างผู้รู้ด้วยเที่ยงธรรม และตอบสนองปัญหาเหล่านั้นตามหลักการ เหตุผลและค่านิยมอันดีงาม
          ˜ 1.2 ให้ข้อสรุปของปัญหาด้วยความไวต่อความรู้สึกของผู้ที่ได้รับผลกระทบ 
          ˜ 1.3 ริเริ่มในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณที่มีอยู่เพื่อการทบทวนและแก้ไข 
          ™ 1.4 สนับสนุนอย่างจริงจังให้ผู้อื่นใช้การวินิจฉัยด้านคุณธรรมจริยธรรมในการจัดการกับข้อโต้แย้งและปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเอง และผู้อื่น 
          ˜ 1.5 แสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม ในสภาพแวดล้อมของการทำงานและในชุมชนที่กว้างขวางขึ้น
 1) อธิบายตัวอย่างผลเสียของการผิดจรรยาบรรณทางวิชาการในกรณีต่างๆ
2) อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างการมีวินัยเรื่องความตรงต่อเวลาและการเคารพให้เกียรติแก่ผู้อื่น
) การตอบข้อซักถาม/แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นด้านคุณธรรม-จริยธรรมทางวิชาการ
2) การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 
3) ความรับผิดชอบในการจัดทำเอกสารและการนำเสนอโครงร่างการค้นคว้าอิสระ/การรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ
4) จริยธรรมในการจัดทำเอกสารสำหรับการสอบเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ การรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ และการสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญและนำมาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติในวิชาชีพ
          ˜ 2.2 มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และวิธีการปฏิบัติทางวิชาชีพนั้นอย่างลึกซึ้งในวิชาหรือกลุ่มวิชาเฉพาะในระดับแนวหน้า 
          ˜ 2.3 มีความเข้าใจในวิธีการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ และการประยุกต์ ตลอดถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปัจจุบันที่มีต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชาและต่อการปฏิบัติในวิชาชีพ
          ˜ 2.4 ตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อสาขาวิชาชีพ รวมทั้งเหตุผลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
1) ใช้วิธีสอนแบบ Problem Based Learning
2) การศึกษาค้นคว้าเป็นรายบุคคลตามที่ได้รับมอบหมาย
3) การเสนองานศึกษาค้นคว้าในชั้นเรียน
4) การอภิปราย ตอบปัญหาการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ   
  1) ผลการศึกษาค้นคว้าเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าอิสระ
2) ผลการสอบเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ
3) ผลดำเนินการจัดทำเอกสารความก้าวหน้าการค้นคว้าอิสระ
4) ผลการประเมินการรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ
5) ผลดำเนินการจัดทำเอกสารความก้าวหน้าการค้นคว้าอิสระ
6) การสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ
7) การจัดทำรูปเล่มการค้นคว้าอิสระ
˜ 3.1 ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและการปฏิบัติในการจัดการบริบทใหม่ที่ไม่คาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพ และพัฒนาแนวคิดริเริ่มและสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปัญหา
          ˜ 3.2 สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจในสถานการณ์ที่มีอยู่ไม่เพียงพอ
          ˜ 3.3 สามารถสังเคราะห์และใช้ผลงานวิจัย สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือรายงานทางวิชาชีพ และพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยการบูรณาการให้เข้ากับองค์ความรู้เดิม หรือเสนอเป็นความรู้ใหม่ที่ท้าทาย สามารถใช้เทคนิคทั่วไปหรือเฉพาะทางในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์ รวมถึงพัฒนาข้อสรุปและเสนอแนะที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ 
          ˜ 3.4 สามารถวางแผนและดำเนินการโครงการสำคัญหรือโครงการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการได้ด้วยตนเอง โดยการใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตลอดถึงการใช้เทคนิควิจัย และให้ข้อสรุปที่สมบูรณ์ซึ่งขยายองค์ความรู้หรือแนวทางการปฏิบัติในวิชาชีพที่มีอยู่เดิมได้อย่างมีนัยสำคัญ
  1) ใช้วิธีสอนแบบ Problem Based Learning
2) การศึกษาค้นคว้าเป็นรายบุคคลตามที่ได้รับมอบหมาย
3) การเสนองานศึกษาค้นคว้าในชั้นเรียน
4) การอภิปราย ตอบปัญหาการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ   
ประเมินจากทักษะทางปัญญาของนักศึกษาในการดำเนินการต่างๆ คังนี้
1) การสอบเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ
2) การจัดทำเอกสารความก้าวหน้าการค้นคว้าอิสระ
3) การประเมินผลการรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ
4) การจัดทำเอกสารความก้าวหน้าการค้นคว้าอิสระ
5) การสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ
6) การจัดทำรูปเล่มการค้นคว้าอิสระ
˜ 4.1 สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อน หรือมีความยุ่งยากระดับสูงทางวิชาชีพได้ด้วยตนเอง
          ˜ 4.2 สามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเองได้ รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในระดับสูงได้
          ™ 4.3 มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นอย่างเต็มที่ในการจัดการข้อโต้แย้งและปัญหาต่างๆ 
          ˜ 4.4 แสดงออกทักษะการเป็นผู้นำได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม
1)  จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์์กับนักศึกษาอื่น และบุคคลภายนอก
2)  มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทํางานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทํางานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด   
  1) ประเมินการมีส่วนร่วมในการปฏิสัมพันธ์/ทำงานร่วมกับผู้อื่น
2) ประเมินโดยการสังเกตในด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
˜ 5.1 สามารถคัดกรองข้อมูลเชิงตัวเลข และสถิติเพื่อนำมาใช้ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา สรุปปัญหา และเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ 
          ˜ 5.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างเหมาะสมกับบุคคลต่างๆ ทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพ รวมถึงชุมชนทั่วไป โดยการนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
1) การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2) การวิเคราะห์ข้อมูล/ผลการศึกษาวิจัยเชิงตัวเลข-สถิติ
3) การนำเสนองานในชั้นเรียน   
1) การวิเคราะห์และอธิบายความหมายของสารสนเทศที่ศึกษาค้นคว้า
2) การทำงานและส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ การสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 3 4 1 2 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3
1 MSCGT501 เรื่องเฉพาะทางเทคโนโลยีการเกษตร 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ประเมินจาก - การตอบข้อซักถาม/แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นด้านคุณธรรม-จริยธรรมทางวิชาการ - การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย - ความรับผิดชอบในการจัดทำเอกสารและการนำเสนอโครงร่างการค้นคว้าอิสระ/การรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ - จริยธรรมในการจัดทำเอกสารสำหรับการสอบเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ การรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ และการสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ 2 15%
2 2. ความรู้ ประเมินจากผลการดำเนินการต่างๆ คังนี้ - ผลการศึกษาค้นคว้าเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าอิสระ - ผลการสอบเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ - ผลดำเนินการจัดทำเอกสารความก้าวหน้าการค้นคว้าอิสระ - ผลการประเมินการรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ - ผลดำเนินการจัดทำเอกสารความก้าวหน้าการค้นคว้าอิสระ - การสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ - การจัดทำรูปเล่มการค้นคว้าอิสระ 3 38%
3 3. ทักษะทางปัญญา ประเมินจากทักษะทางปัญญาของนักศึกษาในการดำเนินการต่างๆ คังนี้ - การสอบเค้าโครงการค้นคว้าอิสระ - การจัดทำเอกสารความก้าวหน้าการค้นคว้าอิสระ - การประเมินการรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ - การจัดทำเอกสารความก้าวหน้าการค้นคว้าอิสระ - การสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ - การจัดทำรูปเล่มการค้นคว้าอิสระ 2 32%
4 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ประเมินผลเชิงพฤติกรรมของนักศึกษาทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่มในประเด็น ความร่วมมือ/ปฏิสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกันของในกิจกรรมต่างๆ ทั้งในและนอกชั้นเรียน 6 7.5%
5 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินจากผลการดำเนินงาน - การวิเคราะห์ให้อธิบายความหมายของสารสนเทศที่ศึกษาค้นคว้า - การทำงานและส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การรายงานความก้าวหน้าของการค้นคว้าอิสระ การสอบป้องกันการค้นคว้าอิสระ 15 7.5%
 ไม่มี
วารสารทางวิชาการ  ตำรา  เอกสารวิชาการ  รายงานวิจัย  ฐานข้อมูลทางวิชาการ  โปรแกรมสถิติต่างๆ  แหล่งข้อมูลอื่นๆ
  การสืบค้นข้อมูลผ่านฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ  โดยคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา
  การสืบค้นข้อมูลผ่านฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ  โดยคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา
ทำการการประเมินการสอน  โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร  จากการสังเกตขณะสอน  และทำการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
     -   หลักสูตรกําหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  และจัดทํารายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดทุกภาคการศึกษา
-  กําหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา  ทําวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ  1   รายวิชา
        -   มีการประชุมอาจารย์ผู้สอนของหลักสูตรเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางแก้ไข
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทําหน้าที่ทบทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน  ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนนของรายวิชา  ภายในรอบเวลาของหลักสูตร
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา  ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของหลักสูตร
การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน  ภายหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา  อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้  และนําเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินงานของรายวิชาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร  เพื่อพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสําหรับใช้ในภาคการศึกษาถัดไป