ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร

Physics 1 for Engineers

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักการพื้นฐานทางฟิสิกส์ ตามหัวข้อต่างๆ ในคำอธิบายรายวิชา และสามารถประยุกต์ใช้ได้ แก้ปัญหาทางฟิสิกส์ได้ และประยุกต์วิชาฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกรกับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้ มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
เพื่อให้เนื้อหารายวิชามีความสมบูรณ์ ครอบคลุมและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันซึ่งจะเป็นการพัฒนาความรู้และทักษะเฉพาะด้านของนักศึกษาให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ภาษาไทย) ศึกษาเกี่ยวกับกลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง สมบัติของสสาร กลศาสตร์ของไหล ความร้อน การสั่นและคลื่น โดยการสอนจะเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์ การสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณแก้ปัญหาทางวิศวกรรม
(ภาษาอังกฤษ) The study of mechanics of particles and rigid body, properties of matter, fluid mechanics, heat, vibrations and waves. Teaching focuses on the main principles of physics including with skills of analytic and calculation for solving engineering problems.
6 ชั่วโมง / สัปดาห์
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม (เน้น)
4) เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
 
 
1)  แนะนำก่อนเริ่มเรียนรายวิชา
2) แนะนำในห้องเรียนในช่วงสั้นในเวลาที่เหมาะสม มีตัวอย่างเหตุการณ์ผิดจรรยาบรรณให้นักศึกษาทราบ 2-3 กรณ๊ (โดยไม่มีการกล่าวถึงตัวบุคคล ในแง่ของสิทธิมนุษยชน) 
3) แนะนำ/ชมเกี่ยวกับการส่งงานที่มอบหมายตามเวลาและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
4) เวลาการเข้าเรียน
 
1) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาระหว่างเรียน ว่าได้ดำเนินการตามระเบียบการเข้าเรียนรายวิชาที่ตกลงกันในครั้งแรก
2) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านการสอบและการทำงาน
3) การส่งงานที่มอบหมายตามเวลาและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
4) มีคะแนนจิตพิสัย
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
- บรรยายตามเอกสารการสอน บน White Board ที่เตรียมการสอนมาอย่างดี
- การถาม-ตอบ ตลอดเวลาการบรรยาย ที่เตรียมคำถามไว้แล้วเป็นอย่างดี
- มีอุปกรณ์สาธิตเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและเข้าถึงเนื้อหา ได้แก่ มี VIDEOs, มีอุปกรณ์สาธิตในแต่ละบทเรียน
- พัฒนานักศึกษาผ่านการเรียนแบบบูรณาการศาสตร์ (Integration) และ Hands-on ผ่านกิจกรรม/งาน/การบ้าน ได้แก่ งานค้นคว้าเชิงลึกและนำเสนอผ่าน Power Point, การสร้างสิ่งประดิษฐ์จิ๋วที่เชื่อมโยงกับเนื้อหา, การอธิบายด้วยการทำ clip สั้นๆ ในการอธิบายสิ่งประดิษฐ์
- สอบข้อเขียนจำนวน 4 ครั้ง
- นำเสนอเป็น Power Point ในโจทย์เชิงบูรณาการเชิงลึกที่มอบหมายตั้งแต่ต้นเทอม
- สร้างและนำเสนอสิ่งประดิษฐ์
-  การบ้าน
 
(1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
1) แนะนำวิธีการฝึกทักษะที่มีฟิสิกส์เป็นฐานความคิด  มีทักษะเชื่อมโยงฟิสิกส์และกลไกของสิ่งประดิษฐ์หรือธรรมชาติรอบตัว ผ่านการสร้างสิ่งประดิษฐ์
2) การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดและจัดให้มีการสอบย่อย
-  วิเคราะห์แนวคิดทางวิชาการผ่านการสอบย่อย
-  ประเมินระบบการทำแบบฝึกหัดและการสอบย่อย
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามรถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- แนะนำในห้องเรียนความจำเป็นต่อความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- บอกวิธีการทำงานเป็นทีม โดยทีทุกคนในทีมต่างก็ได้ ผู้สอนคอยกำชับให้มีการทำงานร่วมกัน
- มอบหมายงานกลุ่ม
- อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
-  สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาจากการมอบหมายงานเดี่ยว และงานกลุ่ม
- การสอบที่เป็นงานเดี่ยว และงานกลุ่ม
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
(2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
- แนะนำในห้องเรียนถึงการใช้เครื่องคำนวณ การสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต และอื่นๆ
- แนะนำนักศึกษารู้ถึงแหล่งสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต และตำราพิเศษ
- สอนให้นักศึกษาได้ใช้คำภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นแล้วเกิดความคร่องตัวในการเสนอผลงานผ่านการทำแบบฝึกหัดและการทำข้อสอบ
- สังเกตพฤติกรรมจากการใช้เครื่องคิดเลข/สื่อสาร
- จากการมอบหมายงานและให้ส่งงาน และการสอบข้อเขียน
- สังเกตจากการตอบหรือการส่งงานที่ต้องใช้การเขียนตอบ
-  มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วและชำนิชำนาญ ได้แก่ ความเข้าใจในเนื้อหา เชื่อมโยงกับการประยุกต์ได้ง่าย และเมื่อเจอปัญหาสามารถในเชิงคำนวณและคุณภาพสามารถแก้ไขได้โดยเร็วและง่าย
- สอนให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาผ่านมุมมองของการคำนวณ (สอบข้อเขียน),  VEDIOs, การค้นคว้าเชิงลึก, สิ่งประดิษฐ์
- สอบข้อเขียน
- วิเคราะห์เหตุการณ์สัมพันธ์กับเนื้อหาผ่าน VEDIOs
- นำเสนองานการค้นคว้าเชิงลึก
- นำเสนองานสิ่งประดิษฐ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม (1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา (3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ (1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี (2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม (3) สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม (1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม (2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1 FUNSC101 ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีความเข้าใจในเนื้อหา : บทที่ 1 คณิตศาสตร์สำหรับฟิสิกส์ และ บทที่ 2 จลนศาสตร์และพลศาสตร์ สอบข้อเขียน (ครั้งที่ 1) : วัดความเข้าใจ 50 % และวัดการคำนวณ 50% สัปดาห์ที่ 6 15 %
2 มีความเข้าใจในเนื้อหา บทที่ 3 พลังงานและโมเมนตัม และบทที่ 4 พลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง สอบข้อเขียน (ครั้งที่ 2 กลางภาค) : วัดความเข้าใจ 50 % และวัดการคำนวณ 50% สัปดาห์ที่ 9 15 %
3 มีความเข้าใจในเนื้อหา บทที่ 5 มอดุลัสยืดหยุ่นของวัตถุและกลศาสตร์ของไหล และบทที่ 6 การแกว่งกวัด สอบข้อเขียน (ครั้งที่ 3) : วัดความเข้าใจ 50 % และวัดการคำนวณ 50% สัปดาห์ที่ 14 15 %
4 มีความเข้าใจ บทที่ 7 คลื่น และ บทที่ 8 อุณหพลศาสตร์ สอบข้อเขียน (ครั้งที่ 4 ปลายภาค) : วัดความเข้าใจ 50 % และวัดการคำนวณ 50% สัปดาห์ที่ 18 15 %
5 จิตพิสัย พิจารณาจากเวลาเรียน ร่วมกับ การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการเรียนผ่านการถามตอบ ทุกสัปดาห์ 10 %
6 สามารถบูรณาการรายวิชาและประยุกต์ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร ในการอธิบายปรากฏการณ์สำคัญในปัจจุบัน (เป็นที่สนใจในหมู่นักวิจัยและวิศวกรรมศาสตร์ระดับโลก) ผ่านโจทย์บูรณาการที่จะได้รับตั้งแต่สัปดาห์แรกของการเรียน แก่โจทย์บูรณาการเชิงลึกได้ ได้รับโจทย์ในสัปดาห์แรก เป็นง่านเดี่ยว มีเวลาทำกิจกรรมนี้ประมาณ 2- 3 เดือน มีรายงานเขียนด้วยมือ และ Power Point Presentation นำเสนอ 5 นาที พร้อมตอบข้อซักถามจากเพื่อนๆ สัปดาห์ที่ 17 10 %
7 นักศึกษาสามารถสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่สอดคล้องกับเนื้อหาฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร สร้างสิ่งประดิษฐ์ฯ ได้รับโจทย์ในสัปดาห์แรก เป็นง่านกลุ่ม มีเวลาทำกิจกรรมนี้ประมาณ 2- 3 เดือน มีสิ่งประดิษฐ์ มีรายงานเขียนด้วยมือ Power Point Presentation และคลิปอธิภายไม่เกิน 2 นาที และนำเสนอหน้าชั้นไม่เกิน 10 นาที พร้อมตอบข้อซักถามจากเพื่อนๆ สัปดาห์ที่ 17 10 %
8 มีความใฝ่เรียนและทบทวนความรู้สม่ำเสมอ พิจารณาจากการจดบันทึกในสมุดโน๊ต หรือจดบันทึกในเอกสารการสอน และการส่งการบ้าน ทุกสัปดาห์ 10 %
-  เอกสารการสอน PHYSICS 1 FOR ENGINEERS ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร โดย ดร.เฉลา วงศ์แสง
-  William P. Crummett and Arthur B. Western, University Physics Models and Applications, (USA: Wm. C. Brown Communications, Inc.), 1994
- John W. Jewett, Jr. and Raymond A. Serway, Physics for Scientists and Engineers with Modern Physics, (Canada: Nelson Education, Ltd.), 2010
-  William P. Crummett and Arthur B. Western, University Physics Models and Applications, (USA: Wm. C. Brown Communications, Inc.), 1994
- John W. Jewett, Jr. and Raymond A. Serway, Physics for Scientists and Engineers with Modern Physics, (Canada: Nelson Education, Ltd.), 2010
การนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีการยอมรับในระดับโลกและมีชื่อเสียงมาประกอบการสอน
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ผ่านแบบประเมินการเรียนการสอนฯ ด้วยระบบคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป