บัญชีบริหาร

Managerial Accounting

เพื่อให้นักศึกษาได้ทราบถึงบทบาทและความสำคัญของการบัญชีบริหาร และสามารถจำแนกข้อแตกต่างระหว่างบัญชีบริหารและบัญชีการเงินได้ เพื่อให้นักศึกษาใช้ประโยชน์ของงบการเงิน โดยการวิเคราะห์งบการเงินตลอดจนการจัดประมาณประจำปี งบประมาณการลงทุนตามแผนงานได้ เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงแนวคิดเกี่ยวกับต้นทุนตลอดจนการวิเคราะห์ต้นทุนเพื่อการตัดสินใจและควบคุมการดำเนินงานทางการบริหาร เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ทางบัญชีมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์แก้ปัญหาต่าง ๆ สำหรับธุรกิจที่ประสบปัญหาเพื่อใช้การจัดการกำไรแก่ธุรกิจ เพื่อให้นักศึกษาสามารถจัดทำรายงานทางการเงินเพื่อใช้ในการบริหารงานในธุรกิจ

เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อจรรยาบรรณทางธุรกิจ
เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี และเศรษฐกิจของประเทศ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการของการบัญชีบริหาร ประเภทของข้อมูลการวางแผนและการตัดสินใจ การวิเคราะห์งบการเงิน งบประมาณประจำปี งบประมาณการลงทุน และจัดทำรายงานทางการเงิน
3.1 จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ เป็นรายชั่วโมง 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
3.2 ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาผ่านสื่ออิเลกทรอนิคส์โดยแจ้งหมายเลขสื่ออิเลกทรอนิคส์ให้แก่นักศึกษา
1.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพ และสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง นักธุรกิจ และ ธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในการบริหารงาน
1.2.2 การอภิปรายกลุ่ม –บุคคล
1.2.3 ทำกรณีศึกษา การใช้ข้อมูลทางบัญชีเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจดำเนินงานของธุรกิจกลุ่มต่าง ๆ
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนด
1.3.2 ประเมินผลการอภิปรายรายกลุ่ม –บุคคล
1.3.3 ประเมินผลงานการนำเสนอกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 ความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางบบัญชี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการ
2.1.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่น ๆ โดยใช้วีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.1.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎี และ
ภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง บัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.2.1 บรรยาย อภิปราย พร้อมยกตัวอย่าง แนวคิด ทฤษฎีหลักการ และวิธีทางการบัญชี
2.2.2 อธิบาย มอบหมายงานเดี่ยว – กลุ่ม ให้หาบทความเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านบัญชี ที่นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.2 3 ฝึกปฏิบัติกรณีศึกษา เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีบรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ประเมินผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.2 ประเมินผลงานที่นำเสนอ
2.3.3 สังเกตพฤติกรรม การทำงานร่วมกับผู้อื่น และการแก้ไขปัญหา
2.3.4 สอบกลางภาค และการสอบปลายภาค
2.3.5 เสนอความคิดเห็นระหว่างเรียน
3.1.1. สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุ และวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตัวเอง
3.1.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชี และด้านอื่น ๆที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพ และดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.1.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
3.2.1 สอนแบบบรรยาย อภิปรายกลุ่ม พร้อมยกตัวอย่าง และแก้ไขกรณีศึกษาร่วมกัน
3.2.2 สอนโดยใช้กรณีศึกษา โจทย์ปัญหา และแบบฝึกหัด
3.3.1 ทดสอบย่อยสอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
3.3.2 วัดผลจากการค้นคว้า และการนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.4 เสนอความคิดเห็นระหว่างเรียน
4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.1.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวก ในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผุ้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.1.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนา ความรู้ ความสามารถ ทางวิชาชีพบัญชี ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 จัดกลุ่มทำกิจกรรมวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานราบุคคลและกลุ่ม
4.2.3 การนำเสนอผลงาน
4.3.1 ประเมินผลจากงานที่นำเสนอ
4.3.2 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.4 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายรายบุคคล
5.1.1 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด และการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็ปไซต์และสื่อการสอน เพื่อจัดทำรายงานโดยอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอผลงานโดนใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
5.3.2 ประเมินจากรูปเล่มรายงาน และรูปแบบการนำเสนอ
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง นักธุรกิจ และ ธุรกิจที่ประสบความสำเร็จในการบริหารงาน การอภิปรายกลุ่ม –บุคคล ทำกรณีศึกษา การใช้ข้อมูลทางบัญชีเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจดำเนินงานของธุรกิจกลุ่มต่าง ๆ บรรยาย อภิปราย พร้อมยกตัวอย่าง แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีทางการบัญชี อธิบาย มอบหมายงานเดี่ยว – กลุ่ม ให้หาบทความเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านบัญชี ที่นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ฝึกปฏิบัติกรณีศึกษา เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีบรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สอนแบบบรรยาย อภิปรายกลุ่ม พร้อมยกตัวอย่าง และแก้ไขกรณีศึกษาร่วมกัน สอนโดยใช้กรณีศึกษา โจทย์ปัญหา และแบบฝึกหัด จัดกลุ่มทำกิจกรรมวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานราบุคคลและกลุ่ม 3 การนำเสนอผลงาน จัดกลุ่มทำกิจกรรมวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานราบุคคลและกลุ่ม การนำเสนอผลงาน มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็ปไซต์และสื่อการสอน เพื่อจัดทำรายงานโดยอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ นำเสนอผลงานโดนใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 12023402 บัญชีบริหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,5 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค แบบฝึกหัดท้ายหน่วยเรียน 3,11,14,15 8 17 3,11,14,15 10% 30% 30% 10%
2 2,3,4,5 กรณีศึกษา วิเคราะห์การนำเสนอ กรณีศึกษา รายงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1,2,3,4,5 การสังเกตพฤติกรรม การมีส่วนร่วมและนำเสนอผลงาน การอภิปรายกลุ่มและรายบุคคล การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ไพรพันธ์ ธนเลิศโศภิต. (2561).เอกสารประกอบการสอนวิชาการบัญชีบริหาร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่.
กชกร เฉลิมกาญจนา. (2548). การบัญชีบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 1ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กนกพร สุรณัฐกุล. (2559). การบัญชีเพื่อการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง).กรุงเทพฯ: อักษรโสภณ. จารุณี วงศ์ลิมปิยะรัตน์. (2558). การเงินและการบัญชีเพื่อการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำนักงานศูนย์รังสิต. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์.(2552). การจัดการเชิงกลยุทธ์ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น ทองทิพภา วิริยะพันธุ์.(2545). ผู้บริหารยุคบรรษัทภิบาล. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์อินฟอร์มีเดีย บลุ๊ส์ พรชัย องค์วงศ์สกุล. (2555). เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ กรุงเทพฯ: เอ็นจิเนียริ่ง ทูเดย์ พยอม สิงห์เสน่ห์.(2547). การบัญชีทรัพย์สิน กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. ไพบูลย์ ผจงวงศ์. (2554).การบัญชีเพื่อการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: แสงดาว. ไตรรงค์ สวัสดิกุล. (2559). การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

10. ณพศิษฎ์ จักรพิทักษ์. (2552). ทฤษฎีการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ :ธนาเพรส
11. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์.(2552). การจัดการเชิงกลยุทธ์ กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น
12. นวพร บุศยสุนทร, ประจิต หาวัตร, ศรัณย์ ชูเกียรติ, วิศรุต ศรีบุญนาค และ วศธร ชุติภิญโญ. (2555).การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.
13. นวพร บุศยสุนทร, ประจิต หาวัตร, ศรัณย์ ชูเกียรติ, วิศรุต ศรีบุญนาค และ วศธร ชุติภิญโญ. (2561).การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.
14. เบญจมาศ อภิสิทธิ์ภิญโญ. (2549). การบัญชีต้นทุน. นครราชสีมา: โชคเจริญมาร์เก็ตติ้ง จำกัด
15. ภัทรวดี ภัทรกุลพงษ์.(2557). การบัญชีบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น
16. เมธสิทธิ์ พูลดี. (2551). การบัญชีบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
17. ศรีสุดา อาชวานันทกุล. (2557).การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ: ทีพีเอ็น เพรส.
18. เศกสิน ศรีวัฒนานุกุลกิจ Total Quality Management [ออนไลน์]http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=wbj (สืบค้นเมื่อวันที่ 28พฤษภาคม 2561)
19. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2551). หลักการบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.
20. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์.(2552).การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.
21. สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (2534). ศัพท์บัญชี.(พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
22. สุปราณี ศุกระเศรณี, ศุภสิน สุริยะ, อำนาจ รัตนสุวรรณ และอรรถพล ตริตานนท์. (2549).การบัญชีบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่4). กรุงเทพฯ: พิมพ์พรรณการพิมพ์.
23. สุรกิจ คำวงศ์ปีน. (2559). การวิเคราะห์รายงานทางการเงินแนวทางและกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
24. เสนีย์ พวงยาณี. (2554). การบัญชีบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
25. เสนีย์ พวงยาณี. (2559). การบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ:ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
26. Garrison, R., Noreen, E., & Brewer, P., (2008). Managerial Accounting. (12thEdition).
China. McGraw-Hill.
27. Trompenaars,F. & Coebergh, H. P, (2015). 100+ Management Models. United States of America. Models: Mc Graw Hill Education.
website ฐานข้อมูลงานวิจัยด้านการบัญชีบริหาร
ใช้แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัย
          ใช้การประเมินจากการทดสอบย่อย   การสอบระหว่างภาค  การสอบปลายภาค  งานที่ได้รับมอบหมายและกรณีศึกษาและการประชุมร่วมระหว่างอาจารย์ผู้สอนกับหัวหน้าสาขา
วิเคราะห์ผลการสอนจาก แบบประเมินผลการสอนของนักศึกษา และปรับปรุงจุดบกพร่องตามผลประเมินสรุปผลการเรียนรู้ของนักศึกษาจากผลการสอบ การทำกรณีศึกษา ปรับปรุงการสอนโดยเน้นในเรื่องที่นักศึกษาขาดทักษะ
ค้นหาวิธีการสอนใหม่สำหรับเนื้อหาที่นักศึกษาขาดทักษะ
          มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรุ้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือ การสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาตลอดจนพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และตรวจสอบความถูกต้องความตรงประเด็นของข้อสอบ โดยคณะกรรมการกำกับมาตรฐานผลการเรียนรุ้ของสาขาวิชา
   นำผลการประเมินจากข้อ1 และข้อ 2 มาประกอบการพิจาณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน อาจารย์ผู้สอน การจัดตารางเรียน การทบทวน และปรับปรุงเนื้อหา และมาตรฐานข้อสอบ โดยการประชุมร่วมกับอาจารย์ หัวหน้าหลักสูตร หัวหน้าสาขา