เทคโนโลยีพลังงาน

Energy Technology

เพื่อที่ต้องการให้ผู้ที่ศึกษาวิชานี้มีความรู้ ความเข้าใจ ศักยภาพ การเปลี่ยนรูปพลังงาน และเทคโนโลยี ของพลังงานต่างๆ ตลอดจนการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของเทคโนโลยี ของพลังงานในรูปแบบต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ความรู้ ความเข้าใจ ศักยภาพ การเปลี่ยนรูปพลังงาน และเทคโนโลยี ของพลังงานต่างๆ ตลอดจนการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของเทคโนโลยี ของพลังงานในรูปแบบต่างๆ  เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ และวิเคราะห์หลักทางเศรษฐศาสตร์ของการลงทุน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของเทคโนโลยีที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา ตามการพัฒนารูปแบบการใช้พลังงานในอนาคต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประหยัดพลังงาน  แหล่งพลังงานและความต้องการด้านพลังงานความแตกต่างระหว่างแหล่งพลังงานหลักและแหล่งพลังงานรอง  ระบบการจัดเก็บพลังงานเทคนิคและขั้นตอนในการค้นหาแหล่งพลังงานหลักการอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูประหว่างพลังความร้อนและพลังงานกลโรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์  แหล่งจ่ายพลังงานทดแทนเช่น  พลังงานไฮดรอลิก  พลังความร้อนใต้พิภพพลังงานจากโฟโตโวลตาอิก  พลังงานลมพลังงานจากการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย  ระบบจ่ายพลังงานในอนาคต  เช่น  เซลล์ เชื้อเพลิง  แมกเนโตไฮโดรไดนามิกส์   พลังงานฟิวชั่น  เช่นระบบไฮโดรเจนและก๊าซมีเทน
 -   อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาโดยการติดป้ายประกาศ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร 

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต

มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
วิธีการสอน 


ให้นักศึกษาทุกคนได้นำเสนอ อภิปราย แสดงความคิดเห็น โดยมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชั้นเรียน ให้นักศึกษาได้กล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นอย่างเป็นรูปธรรมลงมือปฏิบัติจริง (Hands On) เพื่อให้เกิดทักษะที่เป็นคุณลักษณะตรงคามความต้องการของตลาดแรงงาน สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น

1.2.3 ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การลอกการบ้าน การลอกกันระหว่างการทดสอบย่อย เป็นต้น กำหนดบทลงโทษและชี้ให้เห็นถึงผลของพฤติกรรมดังกล่าวที่จะส่งผลกระทบต่อสังคมในอนาคต
ลูกฝังให้นักศึกษารู้จักตระหนักและรับผิดชอบสังคมมากขึ้น โดยให้คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคมมากกว่าผลประโยชน์ที่จะได้รับ
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
2.3.3   พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
ความรู้ที่จะได้รับครอบคลุมตามวัตถุประสงค์รายวิชา ประกอบไปด้วยความรู้ ความเข้าใจ ศักยภาพ การเปลี่ยนรูปพลังงาน และเทคโนโลยี ของพลังงานต่างๆ ตลอดจนการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของเทคโนโลยี ของพลังงานในรูปแบบต่างๆ
2.2 วิธีการสอน
แบบบรรยายในประเด็นสำคัญๆ และอภิปราย แสดงความคิดเห็น โดยการวิเคราะห์กรณีศึกษาของการเลือกใช้เทคโนโลยีพลังงานจริงในประเทศ นำมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ ถึงการเลือกใช้เทคโนโลยีพลังงานนั้นๆ  นำมาสรุปและนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องเรียนรู้กันกับครูและนักศึกษา
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
2.3.3   พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือองค์ความรู้ต่อยอดจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 วิธีการสอน
3.2.1   บรรยาย และอภิปราย ในแต่ละเทคโนโลยีของพลังงานต่างๆ
3.2.2   การมอบให้นักศึกษาค้นคว้ากรณีศึกษาของการเลือกใช้เทคโนโลยีพลังงาน เพื่อนำมาวิเคราะห์
สังเคราะห์ และแก้ไขปัญหา แล้วการนำเสนอผลงานเพื่อแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นทฤษฎี และวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
3.3.2   วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.2 วิธีการสอน
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การสืบค้นบทความวิชาการและสิทธิบัตร การบริหารโครงการในปัจจุบัน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการ
แก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ โดยมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านการบริหารโครงการ การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้โดยผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.2 วิธีการสอน
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
none
none
none
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9/17 60
Handbook of Renewable Energy Technology Edited by: Ahmed F Zobaa (Brunel University, UK), Ramesh C Bansal (The University of Queensland, Australia)
1) Office of Agricultural Economics, Agricultural Statistics of Thailand (2011).
2) R. G. Allen, L. S. Pereira, D. Raes, and M. Smith, Irrigation and Drainage, No. 56 (U.N. Food and Agriculture Organization, 1998).
3) S. Vongvutisarod, Water Consumption of Rice (2010).
4) Z. Zhang, S. Zhang, J. Yang, and J. Zhang, Field Crops Res. 108, 71 (2008).
5) B. A. M. Bouman and T. P. Tuong, Agric. Water Manage. 49, 11 (2001).
6) D. F. Tabbal, B. A. M. Bouman, S. I. Bhuiyan, E. B. Sibayan, and M. A.Sattar, Agric. Water Manage. 56, 93 (2002).
7) P. Belder, B. A. M. Bouman, R. Cabangon, L. Guoan, E. J. P. Quilang, L.Yuanhua, J. H. J. Spiertz, and T. P. Tuong, Agric. Water Manage. 65, 193, (2004).
8) T. P. Tuong and S. I. Bhuiyan, Agric. Water Manage. 40, 117 (1999).
9) W. Cheng, G. Zhang, G. Zhao, H. Yao, and H. Xu, Field Crops Res. 80,245 (2003).
10) H. Tao, H. Brueck, K. Dittert, C. Kreye, S. Lin, and B. Sattelmacher, Field Crops Res. 95, 1 (2006).
11) R. J. Cabangon, T. P. Tuong, and N. B. Abdullah, Agric. Water Manage. 57, 11 (2002).
12) V. K. Shahir, C. P. Jawahar, and P. R. Suresh, Renewable Sustainable Energy Rev. 45, 686 (2015).
13) A.E. Atabani, A.S. Silitonga, I.A. Badruddin, T.M.I. Mahlia, H.H. Masjuki, and S.Mekhilef, Renewable Sustainable Energy Rev. 16, 2070 (2012).
14) M. T.-A.-I. Khan, S. Sarkar, S. Hossain, A. U. Ahmed, and B. B. Pathik, 1st Int. Conf. Electrical Information and Communication Technology (EICT 2013), 2014, p. 1.
15) M. Abu-Aligah, Jordan J. Mech. Ind. Eng. 5, 273 (2011).
16) B. D. Vick and B. A. Neal, Sol. Energy 86, 1197 (2012).
17) M. M. Hasan and M. F. Khan, Developments in Renewable Energy Technology (ICDRET), 2012, p. 1.
18) N. S. Yuzana Kyaing, Int. J. Comput. Internet Manage. 19, 68.1 (2011).
19) Office of Technology Transfer and Dissemination Department of Alternative Energy Development and Efficiency, Manual solar electricity transmission and dissemination of renewable energy technologies.
20) A. D. Cota, R. E. Foster, L. M. Gmez, M. P. Ross, C. J. Hanley, V. P. Gupta, O. Montfar, and A. Romero, Ten year Reliability Assessment of Photovoltaic Water Pumping Systems in Mexico (American Solar Energy Society, Portland, OR, 2004).
21) P. Kuanmung, S. Thepa, R. Sinklee, and K. Kirtikara, Proc. 34th Annu. Conf. Australian and New Zealand Solar Energy Society, 1996.
22) T. Suwannakum, K. Kirtikara, S. Thepa, S. Suwaravan, and R. Songprakob, Proc. 32nd Annu. Conf. Australian and New Zealand Solar Energy Society, 1994.
23) M. M. Biswas, K. Das, I. A. Baqee, M. A. H. Sadi, and H. M. S. Farhad, Global J. Res. Eng. 11, 23 (2011).
24) R. Li, B. Wu, X. Li, F. Zhou, and Y. Li, 3rd IEEE Int. Conf. Computer Science Information Technology (ICCSIT), 2010, Vol. 5, p. 402.
25) C. Greacen, P. Thai, and N. Chayawatto, Ph.D. JGSEE (2006).
26) Tilahun and M. Alemu, Master Thesis, Royal Institute of Technology (KTH), Ethiopia (2012).
27) S. N. Singh, S. Mishra, and V. Neha Tigga, Int. J. Res. Rev. Appl. Sci. 2, 253 (2010).
28) A. A. Ghoneim, Energy Convers. Manage. 47, 1449 (2006). 29) V. Vongmanee, IEEE Asia–Pacific Conf. Circuits and Systems, 2004, p. 1185.
30) N. Patcharaprakiti, J. Interdisciplinary Networks 2 [2], 180 (2013).
31) L. Rosenblum, Practical Aspects of Photovoltaic Technology, Application, and Cost (Revised) (U.S. Agency for International Development, 1985).
 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
http://www.iea.org/
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ