การเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ต

Internet Programming

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์อินเทอร์เน็ต ทั้งในฝั่งแม่ข่ายและฝั่งลูกข่าย สามารถจัดการฐานข้อมูลบนเว็บได้ ตลอดจนเข้าใจเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของระบบที่พัฒนาขึ้น รวมทั้งประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในปัจจุบันตามความเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติการเกี่ยวกับ เทคโนโลยีบนเว็บในปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ต โพรโตคอล HTTP และศึกษากลไกจัดการการ ร้องขอในเว็บเซิร์ฟเวอร์ การเขียนโปรแกรมแบบ CGI และการสร้างหน้าเว็บแบบพลวัต การใช้งานคุกกี้ การ ติดต่อเชื่อมโยงกับฐานข้อมูล การปรับแต่งประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใช้งาน การเขียนโปรแกรมในฝั่งของบราวเซอร์ และเทคโนโลยี AJAX
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษา เป็นกลุ่มหรือเฉพาะราย ตามความต้องการ ผ่าน เครื่องมือการสื่อสารออนไลน์

อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ)
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ าเสมอ

1.1.3 ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม
ให้ความสำคัญในด้านวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม

1.2.3 สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา ประเมินจากปริมาณการทุจริตในการสอบ

1.1.3 พิจารณาผลจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตากฎระเบียบข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.1.1  เข้าใจและวิเคราะห์หลักการและทฤษฎีพื้นฐานดด้านการเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ต
2.1.2 สามารถนำไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านการเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ตได้
2.1.3  เข้าใจและวิเคราะห์หลักการของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล เช่น หลักเศรษฐศาสตร์ หลักกฎหมาย หลักการจัดการ เป็นต้น และสามารถนำมาประยุกต์หรือเป็นพื้นฐานของฐานข้อมูล
2.1.4  มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.5  สามาถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุง และ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.1.6  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์็ต
 
2.2.1   ใช้รูปแบบในการสอนที่หลากหลายโดยเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดวิเคราะห์ด้วยตนเอง
2.2.2  บรรยายรูปแบบวิธีเขียนคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์บนระบบเว็บ อธิบายการทำงานของระบบแม่ข่าย/ลูกข่าย
2.2.3  ให้นักศึกษทำแบบฝึกหัด วิเคราะห์และออกแบบระบบเว็บแอพพลิเคชั่น โดยสืบค้นเทคนิควิธีการจากเว็บไซต์ต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
2.1.1  เข้าใจและวิเคราะห์หลักการและทฤษฎีพื้นฐานดด้านการเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ต
2.1.2 สามารถนำไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านการเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ตได้
2.1.3  เข้าใจและวิเคราะห์หลักการของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล เช่น หลักเศรษฐศาสตร์ หลักกฎหมาย หลักการจัดการ เป็นต้น และสามารถนำมาประยุกต์หรือเป็นพื้นฐานของฐานข้อมูล
2.1.4  มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.5  สามาถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุง และ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.1.6  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์็ต
 
2.2 วิธีการสอน
2.2.1   ใช้รูปแบบในการสอนที่หลากหลายโดยเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดวิเคราะห์ด้วยตนเอง
2.2.2  บรรยายรูปแบบวิธีเขียนคำสั่งภาษาคอมพิวเตอร์บนระบบเว็บ อธิบายการทำงานของระบบแม่ข่าย/ลูกข่าย
2.2.3  ให้นักศึกษทำแบบฝึกหัด วิเคราะห์และออกแบบระบบเว็บแอพพลิเคชั่น โดยสืบค้นเทคนิควิธีการจากเว็บไซต์ต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   สังเกตพฟติกรรมของนักศึกษา
2.3.2  ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและรายงาน
2.3.3  สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าเรียน
2.3.4  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.5  การทำแบบฝึกหัด มอบหมายงานพัฒนาระบบเว็บแอพพลิเคชั่น
3.1.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ โดยใช้หลักการที่ได้เรียนมาตลอดจนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในสถานการณ์จริง
3.1.2  สามารถแก้ปัญหาทางฐานข้อมูลได้ โดยนำหลักการต่างๆ มาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม
3.1.3  มีความใฝ่หาความรู้
3.2.1   ฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษา โดยเริ่มต้นจากปัญหาที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ต้องจัดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับรายวิชา
3.2.2  ฝึกการทำโครงงานในด้านการแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์จำลอง
3.2.3 ยกตัวอย่าง ถาม-ตอบ ประยุกต์ใช้วิธีการและคำสั่งในการเขียนโปรแกรม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงานที่มอบหมาย
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
.1.1   สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.1.2  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.3  สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒธรรมองค์กรที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.1.4  มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.1.5  มีภาวะผู้นำ
.2.1   ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.2.2  แบ่งหน้าที่ที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.3  ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
4.2.4  ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปราย
4.2.5  ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
4.3.1   สังเกตจากาการทำงานและมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3  การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย
4.3.4  สังเกตการณ์อภิปรายและแสดงความคิดเห็น
4.3.5  สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4  พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดนเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติ อ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
สามารถท างานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

 

สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป

 

มีภาวะผู้นำ
ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

6.2.2  แบ่งหน้าที่ที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ

ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม

 

ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปราย

 

ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
สังเกตจากการท างานและมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม

 

ประเมินจากรายงานที่น าเสนอ  พฤติกรรมการท างานเป็นทีม

 

การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย

 

สังเกตจากการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น

 

สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 5.1 5.2 5.3 5.4 6.1 6.2
1 32094315 การเขียนโปรแกรมอินเทอร์เน็ต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4-2.6,3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6,1.7,2.1, 2.4-2.6, 3.2,4.1-4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
[1] Christian Wenz. PHP PHRASEBOOK ESSENTIAL CODE AND COMMANDS. USA: Sams, 2005.
[2] David Sklar and Adam Trachtenberg. PHP Cookbook, 2nd Edition. USA: O'Reilly Media, 2006.
[3] Elliot White III and Jonathan Eisenhamer. PHP 5 in Practice. USA: Sams, 2006.
[4] Jim Keogh. JavaScript Demystified. Osborne: McGraw-Hill, 2005.
[5] W. Jason Gilmore. Beginning PHP and MySQL 5 From Novice to Professional SecondEdition. New York: Springer-Verlag, 2006.
[6] กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. คัมภีร์ PHP. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2547.
[7] กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และคณะ. PHP ฉบับโปรแกรมเมอร์. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2545.
[8] ชาตพล นภาวารี. JavaScript & Web Design. กรุงเทพฯ: เอส พี ซี บุคส์, 2543.
[9] ไพศาล โมลิสกุลมงคล. พัฒนา Web Database ด้วย PHP. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: หจก.ไทยเจริญการพิมพ์ จากัด, 2538.
[10] สมศักดิ์ โชคชัยชุติกุล. อินไซท์ PHP 5. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น, 2547.
- มาตรฐานโพรโตคอล HTTP
- มาตรฐานการเข้ารหัส ได้แก่ ISO, Unicode, TIS
- เว็บไซต์ php.net, mysql.com, w3school
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ