การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Sustainable Tourism

1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาความหมาย ความเป็นมา แนวคิด องค์ประกอบ ความสำคัญของการพัฒนาและการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว
1.2 เพื่อให้นักศึกษาได้วิเคราะห์ความเป็นไปได้ การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว รวมถึงสามารถประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวและการพัฒนาแนวทางการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของไทยอยู่กับการท่องเที่ยวอย่างยืน
2.1 เพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม (หลักสูตรปรับปรุงใหม่ 2555)
2.2 เพื่อพัฒนาคุณภาพของบัณฑิตให้สอดคล้องคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และเกณฑ์มาตรฐานระดับปริญญาตรี พ.ศ. 25559 รวมทั้งมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.)
2.3 เพื่อให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงความต้องการบุคลากรของตลาดแรงงานปัจจุบัน
ศึกษาความหมาย ความเป็นมา แนวคิด องค์ประกอบ ความสำคัญของการพัฒนาและการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว การประเมินศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวในการพัฒนา แนวทางการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของไทยให้อยู่กับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรม และความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
3. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ   การพัฒนาเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ
4. มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
-สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
-การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ
-การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
-มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
-การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
-ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
-ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
-ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
1.  มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อโต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
2. สามารถสาธิต ทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
3. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
 
-การอภิปรายเป็นกลุ่ม
-การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนาเป็นทีม
-ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
-การเขียนรายงาน
1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม
2. สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล
-มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
-สอนโดยใช้กรณีศึกษา
-ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
-ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)
-สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
1. สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนอย่างมี ประสิทธิภาพ
2. สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
3.  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.  สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล
-ฝึกให้นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
-บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่
สามารถทำได้
ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรม และความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 3. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ การพัฒนาเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ 4. มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ 1. มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อโต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. สามารถสาธิต ทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 3. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 2. สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรง ตามมาตรฐานสากล 1. สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนอย่างมี ประสิทธิภาพ 2. สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล
1 13010012 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 สังเกตการแสดงพฤติกรรมในการเรียนระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 9, 17 50%
3 3 -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน -ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 4 ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) 16 5%
5 5 -การเขียนรายงาน -ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 8, 16 15%
Parsa, H. G., & Narapareddy, V. V. (Eds.). (2015). Sustainability, Social Responsibility, and Innovations in the Hospitality Industry. CRC Press.
Seba, A. J. (2012). Ecotourism and Sustain Tourism: New perspectives and studies. Apple Academic Press.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2558). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิชาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
ส่วนศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ สำนักอุทยาน. (2551). การติดตามขีดความสามารถในการรองรับด้านนันทนาการของอุทยานแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช.
วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทของบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยต่างๆในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ตลอดจนรายงานการวิจัยต่างๆ และของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
วารสารด้านการวิจัยเกี่ยวกับการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในระบบฐานข้อมูลต่างๆที่นักศึกาค้นคว้าหาอ่านได้ด้วยตนเอง
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้

ความรู้ความสามารถโดยรวมและประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนวิชานี้

ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร ดำเนินการดังต่อไปนี้
2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑
2.2 สุ่มสังเกตการสอนและการประเมินการจัดการเรียนการสอน (โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเอง ในประเด็นต่อไปนี้

ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน

ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอน ดังนี้
3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละครั้ง
3.2 ประชุม/สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา

ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้ และใช้วิธีการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษา
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษาอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม/ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอนและผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและประเมินผล ในปีการศึกษาต่อไป