วงจรไฟฟ้า 2

Electric Circuits 2

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการวิเคราะห์วงจรข่ายทั้งในโดเมนเวลา และโดเมนความถี่ ประยุกต์ใช้การแปลงลาปลาซ และการแปลงกลับลาปลาซเพื่อวิเคราะห์วงจรข่ายตามทฤษฎีการวิเคราะห์วงจรข่ายแบบต่าง ๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้สามารถนำความรู้พื้นฐานไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
ศึกษาเกี่ยวกับผลตอบสนองต่อสัญญาณต่าง ๆคอนโวลูชั่น การวิเคราะห์วงจรข่ายสองพอร์ตแบบต่าง ๆความถี่เชิงซ้อน ความสัมพันธ์ของผลตอบสนองเชิงเวลากับความถี่เชิงซ้อน คุณลักษณะ และการทอปโปโลยีของวงจรข่าย การวิเคราะห์วงจรข่ายแบบโนด ลูป และคัตเซต สมการสภาวะของวงจรข่าย ผลการแปลง         ลาปลาซ และการประยุกต์เพื่อวิเคราะห์วงจรข่ายตามทฤษฎีวงจรแบบต่าง ๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างโจทย์ อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหานำเสนอวิธีการทำโจทย์
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้กฎพื้นฐานของวงจรไฟฟ้า เข้าใจวิธีการวิเคราะห์วงจรข่ายภาคไฟตรง ชนิดแรงดันโนด กระแสเมช กระแสลูป คัตเซต เข้าใจการแปลงลาปลาซ การแปลงกลับลาปลาซ และการประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์วงจรข่ายตามทฤษฎีต่าง ๆ
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์โจทย์ รายงานหน้าชั้นเรียน
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอการวิเคราะห์โจทย์
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโจทย์ให้ห้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์โจทย์
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม  
5.2 วิธีการสอน
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทกษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ทำการเช็ดชื่อเข้าชั้นเรียนเพื่อฝึกให้นักศึกษามีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์โจทย์ รายงานหน้าชั้นเรียน การมอบให้นักศึกษาทำโจทย์ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์โจทย์ มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ฝึกทำแบบฝึกหัด
1 32081201 วงจรไฟฟ้า 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
[1]  โกศล โอฬารไพโรจน์ “การวิเคราะห์วงจรข่าย” สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), 2542.
[2]  โกศล โอฬารไพโรจน์ “ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า 2 เล่ม 1” สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ, 2543.
[3]  โกศล โอฬารไพโรจน์ “ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า 2 เล่ม 2” สำนักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น), กรุงเทพฯ, 2544.
[4]  โกศล โอฬารไพโรจน์ “วงจรไฟฟ้า 1 เล่ม 1” สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น(มหาชน) กรุงเทพ, 2556.
การใช้โปรแกรมจำลองวงจรไฟฟ้า OrCAD Pspice
ไม่มี
ให้นักศึกษาประเมินและเขียนวิจารณ์การเรียนการสอน
ประเมินจากการให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน และทำการทบทวนการเรียนการสอน
นำผลการประเมินความรู้ของนักเรียน ปรับปรุงวิธีการสอนเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้น
วิเคราะห์จากผลการศึกษาของนักเรียน
นำผลการศึกษาของนักศึกษามาปรับกระบวนการเรียนการสอน