พลังงานทดแทนขั้นสูง

Advanced Renewable Energy

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน องค์ประกอบ การประยุกต์ใช้งานระบบพลังงานสะอาด
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ที่สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนให้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
แนวโน้มการพัฒนาพลังงานทดแทน นโยบายพลังงานทดแทน แหล่งพลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ พลังงานลม ชีวมวล ชีวภาพ ขยะ พลังงานคลื่นและพลังงานคลื่นใต้น้ำ พลังงานความร้อนใต้พื้นพิภพ พลังงานรูปแบบใหม่อื่นๆ ศักยภาพของแหล่งพลังงานทดแทน การพัฒนาและการเลือกเทคโนโลยี การแปลงรูปพลังงานที่เหมาะสม การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์และการลงทุน
Trends in renewable energy; renewable energy policy; renewable energy resources; solar energy; hydro power; wind energy; biomass; bio-energy; waste; wave and tidal energies; geothermal energy; modern renewable energy; renewable energy potential; renewable energy development and the use of technology; optimization of energy conversions; economic feasibility of investment.
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านบอรด์ติดประกาศของสาขาวิชา
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ

3.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
วิธีการสอน 


เน้นให้ความสำคัญในวินัย   การตรงต่อเวลาต่องานที่ได้รับมอบหมายและจรรยาบรรณของนักวิจัยในด้านการคัดลอกผลงาน

1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง  สังคม  คุณธรรมและจริยธรรมและปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับขององค์กรและสังคม
การจัดการความรู้โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันผ่านกลไกการอภิปรายกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาและประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน   วิทยาศาสตร์พื้นฐาน   วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์เพื่อการ
2.2.2 เทคโนโลยีและการประเมินศักยภาพของแหล่งพลังงานทดแทนได้แก่พลังงานแสงอาทิตย์   พลังงานลม  พลังงานชีวมวล   พลังน้ำและพลังงานใต้พื้นพิภพ  การพัฒนาของเทคโนโลยีและการแปลงรูปพลังงาน และความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์
2.2 วิธีการสอน
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2 วิธีการสอน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2 วิธีการสอน
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน   ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อนร่วมชั้นด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษาและทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย


 
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน 1-17 50
Handbook of Renewable Energy Technology Edited by: Ahmed F Zobaa (Brunel University, UK), Ramesh C Bansal (The University of Queensland, Australia)
1) Office of Agricultural Economics, Agricultural Statistics of Thailand (2011).
2) R. G. Allen, L. S. Pereira, D. Raes, and M. Smith, Irrigation and Drainage, No. 56 (U.N. Food and Agriculture Organization, 1998).
3) S. Vongvutisarod, Water Consumption of Rice (2010).
4) Z. Zhang, S. Zhang, J. Yang, and J. Zhang, Field Crops Res. 108, 71 (2008).
5) B. A. M. Bouman and T. P. Tuong, Agric. Water Manage. 49, 11 (2001).
6) D. F. Tabbal, B. A. M. Bouman, S. I. Bhuiyan, E. B. Sibayan, and M. A.Sattar, Agric. Water Manage. 56, 93 (2002).
7) P. Belder, B. A. M. Bouman, R. Cabangon, L. Guoan, E. J. P. Quilang, L.Yuanhua, J. H. J. Spiertz, and T. P. Tuong, Agric. Water Manage. 65, 193, (2004).
8) T. P. Tuong and S. I. Bhuiyan, Agric. Water Manage. 40, 117 (1999).
9) W. Cheng, G. Zhang, G. Zhao, H. Yao, and H. Xu, Field Crops Res. 80,245 (2003).
10) H. Tao, H. Brueck, K. Dittert, C. Kreye, S. Lin, and B. Sattelmacher, Field Crops Res. 95, 1 (2006).
11) R. J. Cabangon, T. P. Tuong, and N. B. Abdullah, Agric. Water Manage. 57, 11 (2002).
12) V. K. Shahir, C. P. Jawahar, and P. R. Suresh, Renewable Sustainable Energy Rev. 45, 686 (2015).
13) A.E. Atabani, A.S. Silitonga, I.A. Badruddin, T.M.I. Mahlia, H.H. Masjuki, and S.Mekhilef, Renewable Sustainable Energy Rev. 16, 2070 (2012).
14) M. T.-A.-I. Khan, S. Sarkar, S. Hossain, A. U. Ahmed, and B. B. Pathik, 1st Int. Conf. Electrical Information and Communication Technology (EICT 2013), 2014, p. 1.
15) M. Abu-Aligah, Jordan J. Mech. Ind. Eng. 5, 273 (2011).
16) B. D. Vick and B. A. Neal, Sol. Energy 86, 1197 (2012).
17) M. M. Hasan and M. F. Khan, Developments in Renewable Energy Technology (ICDRET), 2012, p. 1.
18) N. S. Yuzana Kyaing, Int. J. Comput. Internet Manage. 19, 68.1 (2011).
19) Office of Technology Transfer and Dissemination Department of Alternative Energy Development and Efficiency, Manual solar electricity transmission and dissemination of renewable energy technologies.
20) A. D. Cota, R. E. Foster, L. M. Gmez, M. P. Ross, C. J. Hanley, V. P. Gupta, O. Montfar, and A. Romero, Ten year Reliability Assessment of Photovoltaic Water Pumping Systems in Mexico (American Solar Energy Society, Portland, OR, 2004).
21) P. Kuanmung, S. Thepa, R. Sinklee, and K. Kirtikara, Proc. 34th Annu. Conf. Australian and New Zealand Solar Energy Society, 1996.
22) T. Suwannakum, K. Kirtikara, S. Thepa, S. Suwaravan, and R. Songprakob, Proc. 32nd Annu. Conf. Australian and New Zealand Solar Energy Society, 1994.
23) M. M. Biswas, K. Das, I. A. Baqee, M. A. H. Sadi, and H. M. S. Farhad, Global J. Res. Eng. 11, 23 (2011).
24) R. Li, B. Wu, X. Li, F. Zhou, and Y. Li, 3rd IEEE Int. Conf. Computer Science Information Technology (ICCSIT), 2010, Vol. 5, p. 402.
25) C. Greacen, P. Thai, and N. Chayawatto, Ph.D. JGSEE (2006).
26) Tilahun and M. Alemu, Master Thesis, Royal Institute of Technology (KTH), Ethiopia (2012).
27) S. N. Singh, S. Mishra, and V. Neha Tigga, Int. J. Res. Rev. Appl. Sci. 2, 253 (2010).
28) A. A. Ghoneim, Energy Convers. Manage. 47, 1449 (2006). 29) V. Vongmanee, IEEE Asia–Pacific Conf. Circuits and Systems, 2004, p. 1185.
30) N. Patcharaprakiti, J. Interdisciplinary Networks 2 [2], 180 (2013).
31) L. Rosenblum, Practical Aspects of Photovoltaic Technology, Application, and Cost (Revised) (U.S. Agency for International Development, 1985).
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
http://www.iea.org/
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ