ออกแบบเบื้องต้น 2

Fundamental Design 2

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีหลักการและวิธีการจัดองค์ประกอบในการออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม สัญลักษณ์ ความหมาย การรับรู้ และมีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าและความงาม
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการจัดองค์ประกอบในการออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม  2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสัญลักษณ์ ความหมาย การรับรู้ในการออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม  3. มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าและความงาม
ศึกษาหลักการออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม เช่น จุด, เส้น, ระนาบ รูปทรงและที่ว่าง ภาพและพื้นภาพ การสื่อความหมายและการรับรู้ ฯลฯ  ฝึกปฏิบัติการจัดองค์ประกอบ สร้างสรรค์ผลงานที่มีความหมาย คุณค่า และความงามเพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรม
- อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา   - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา   - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.2.1 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ โดยเน้นเรื่องการเข้าชั้นเรียน  1.2.2 ในรายวิชาสอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม มอบหมายงานเดี่ยวและกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน  1.3.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่มและงานเดี่ยวของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา  2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย  อภิปราย จำลองสถานการณ์และการถามตอบ  2.2.2 การทำงานกลุ่มและการนำเสนอ  2.2.3 การเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน
2.3.1 การทดสอบย่อย  2.3.2 สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน  2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ  2.3.4 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน  2.3.5 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ  2.3.6 ประเมินจากแผนการดำเนินงานโปรเจ็ค
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายตามรูปแบบกรณีศึกษา  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล    3.2.2 มอบหมายงานออกแบบ    3.2.3 นำเสนองาน อภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินจากผลงานออกแบบ การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ  3.3.2 การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  4.1.2   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1  สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย  เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม  4.2.2  มอบหมายงานกลุ่ม โดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก  4.2.3 อภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายเพื่อแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ งานของผู้อื่น ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
4.3.1  ประเมินจากพฤติกรรมความเป็นผู้นำและผู้ตามและการแสดงออกในการนำเสนองาน  4.3.2  ประเมินการทำงานเป็นทีม ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน  4.3.3  ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1   บรรยาย อภิปราย สาธิตในห้องเรียน  5.2.2   ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม  5.2.3   นำเสนองานโดยใช้รูปแบบการสื่อสารและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข  5.3.2 การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม  5.3.3   ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คูณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 2 3 1 2 1 3 1
1 42002104 ออกแบบเบื้องต้น 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม -ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่มและงานเดี่ยวของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ความรู้ -การทดสอบย่อย -สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน -ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ -ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน -ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ -ประเมินจากแผนการดำเนินงานโปรเจ็ค 8 17 ตลอดภาคการศึกษา 50
3 ทักษะทางปัญญา -ประเมินจากผลงานออกแบบ การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ -การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน ตลอดภาคการศึกษา 20
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ -ประเมินจากพฤติกรรมความเป็นผู้นำและผู้ตามและการแสดงออกในการนำเสนองาน -ประเมินการทำงานเป็นทีม ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน -ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 14,15,16 10
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข -การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม -ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 10
-Ching,FrancsD.K.,Architecture .Form .Space .Order.U.S.A.VanNostrand Company Inc,1979  -ผุสดี ทิพทัส,หลักเบื้องต้นในการจัดองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์          มหาวิทยาลัย  -ทิพย์สุดา ปทุมานนท์,รศ. ดร. ปรากฎการณ์ศาสตร์ในสถาปัตยกรรม ,กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์  มหาวิทยาลัยม2536
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น องค์ประกอบศิลป์และสถาปัตยกรรม มายาคติ สัญศาสตร์  Sensory การรับรู้  J. Paul Getty Trust (2011) Elements of Art. Available at: https://www.getty.edu/education/teachers/building_lessons/elements_art.pdf  VOCABULARY ELEMENTS OF ART:  http://www.oberlin.edu/amam/asia/sculpture/documents/vocabulary.pdf
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกต  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์